Page 130 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 130

3-96





                  ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม การปกครองและการเมืองของประเทศเปนอยางมาก จึงเปนความจำเปนอยางยิ่ง

                  ที่รัฐจะตองดำเนินการแกไขปญหาดังกลาวโดยดวนที่สุด โดยวิธีการปฏิรูปที่ดินเพื่อชวยใหเกษตรกรมีที่ดิน
                  ทำกินและใหการใชที่ดินเกิดประโยชนมากที่สุดพรอมกับการจัดระบบการผลิต และจำหนายผลิตผล
                  เกษตรกรรมเพื่อใหความเปนธรรมแกเกษตรกร ทั้งนี้ เพื่อเปนการสนองแนวนโยบายแหงรัฐ

                  ในการลดความเหลื่อมล้ำในฐานะของบุคคลในทางเศรษฐกิจและสังคมตามที่ไดกำหนดไวในรัฐธรรมนูญ
                  จึงจำเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นและกฎหมายฉบับนี้ยังไดกำหนดใหเกษตรกรผูที่ไดรับสิทธิ์ในที่ดิน
                  ไมสามารถแบงแยกหรือโอนใหผูอื่นได ยกเวนเปนมรดกตกทอดแกทายาท
                            3) พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2531 (ฉบับที่ 50)

                  กฎหมายฉบับนี้ไดกำหนดใหมีผังเมืองสองชนิดเพื่อประโยชนในการพัฒนาเมืองหรือชนบท คือ ผังเมืองรวมและ
                  ผังเมืองเฉพาะ โดยผังเมืองรวมเปนแผนสำหรับการพัฒนาทั้งเมืองและชนบทรวมกัน โดยการกำหนดเขต
                  การใชที่ดินใหแตละเขตใชประโยชนในกิจกรรมใดไดบางเพื่อใหเกิดความเหมาะสมที่สุดการใชที่ดิน
                  ในบริเวณที่อยูในเขตผังเมืองรวมเมื่อประกาศใชผังเมืองรวมในพื้นที่ใดแลวหากผูใดฝาฝน จะมีโทษทางอาญา

                  การจัดทำผังเมืองรวมจะตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในทองถิ่นไมนอยกวา 1 ครั้ง
                  จึงจะประกาศกฎกระทรวงใชผังเมืองนั้นได สวนผังเมืองเฉพาะมีความละเอียดและจำกัดการใชที่ดินของ
                  ประชาชนในทองถิ่นมากกวาขอกำหนดการใชที่ดินในผังเมืองรวม ซึ่งบางครั้งอาจมีความจำเปนตอง
                  เวนคืนที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยดวย การจัดทำผังเมืองเฉพาะตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของ

                  ประชาชนในทองถิ่นไมนอยกวา 2 ครั้ง และดำเนินการตราพระราชบัญญัติใชผังเมืองเฉพาะหากผูใด
                  ฝาฝนจะมีโทษทางอาญา
                            4) พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้
                  คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 ไดใชบังคับมาเปนเวลานานแลวมีบทบัญญัติ

                  บางประการไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน และโดยที่ปจจุบันมีปญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะ
                  ไมมีการอนุรักษดินและน้ำทำใหเกิดการชะลางพังทลายของดินกอใหเกิดความเสียหายตอ
                  เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งไมมีบทบัญญัติใหหนวยงานของรัฐสามารถเขาไปดำเนินการปองกันรักษา
                  สภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผนดินถลม และเกิดการชะลางพังทลายของดินอยางรุนแรง

                  และเพื่อใหการใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดสมควรกำหนดมาตรการ
                  ทางกฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการสำรวจความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติ
                  ความเหมาะสมแกการใชประโยชนที่ดิน และการกำหนดการอนุรักษดินและน้ำ การวิเคราะห

                  ตรวจสอบตัวอยางดินหรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ตลอดจนกำหนดมาตรการหามกระทำการใด ๆ
                  รวมถึงการทำใหที่ดินเกิดการปนเปอนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด
                          ตามพระราชบัญญัติ “การพัฒนาที่ดิน”หมายความวา การกระทำใด ๆ ตอดินหรือที่ดิน
                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น
                  และหมายความรวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  หรือขาดความอุดมสมบูรณ เพราะการใชประโยชนและการอนุรักษดินและน้ำเพื่อรักษา
                  ดุลธรรมชาติหรือเพื่อความเหมาะสมในการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรม









                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135