Page 135 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 135

3-101





                  การยกระดับศักยภาพของแรงงาน การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสูอนาคต

                  การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 การแกไขปญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
                  ทั้งฝายการเมืองและฝายราชการประจํา การแกไขปญหายาเสพติดและสรางความสงบสุขในพื้นที่
                  ชายแดนภาคใต การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแลงและ

                  อุทกภัยการสนับสนุนใหมีการศึกษา การรับฟงความเห็นของประชาชน และการดําเนินการเพื่อแกไข
                  เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (สำนักงานรัฐมนตรี, 2562)
                            4) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2560-2564 แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม
                  พ.ศ. 2560-2564 (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2559)

                  พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 กำหนดใหมีการจัดทำ “แผนจัดการ
                  คุณภาพสิ่งแวดลอม” ไดนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการการบริหารจัดการ
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาเปนแนวทางในการกำหนดมาตรการเพื่อใหการจัดการและ
                  แกไขปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สามารถทันตอ

                  สถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม มียุทธศาสตรภายใตแผนจัดการ
                  คุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2560-2564 ประกอบดวย (1) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางสมดุล
                  และเปนธรรม ไดแก การจัดการทรัพยากรธรรมชาติประเภทตาง ๆ เชน ปาไม ดิน และน้ำ
                  รวมถึงการมีสวนรวมในการจัดการ และการสรางความตระหนักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

                  (2) การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี ไดรับการปองกัน บำบัด และฟนฟู เชน การปองกัน ลด
                  และขจัดมลพิษ, การเยียวยาชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบ และการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน
                  (3) การเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางคุมคาและยั่งยืน ไดแก
                  การผลิตและบริโภคอยางยั่งยืน (4) การสรางศักยภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

                  และภัยธรรมชาติ และสงเสริมความรวมมือกับตางประเทศ เชน การลดการปลอยกาซเรือนกระจก
                  และการสรางขีดความสามารถในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาตรา 36
                  แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมตามมาตรา 35 อาจจัดทำเปนแผนระยะสั้น ระยะกลาง หรือระยะยาว
                  ไดตามความเหมาะสม

                            5) แผนแมบทบูรณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2564
                  (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2558ก) เพื่อจัดทำขึ้นบนพื้นฐานของ
                  “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ใชเปนแนวคิดหลักในการบูรณาการมิติเศรษฐกิจ สังคม

                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เขาดวยกัน ภายใตกระบวนการทำงานที่เชื่อมโยงตอเนื่องกัน
                  ใชโอกาส ศักยภาพ และปจจัยแวดลอมที่มีอยู เพื่อใหเกิดการสรางฐานรากการพัฒนาที่มั่นคง
                  ยกระดับและเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพอยางเปนลำดับขั้น สามารถ “พึ่งตนเอง” ไดมี  “ภูมิปญญา”
                  และ “ภูมิคุมกัน” พรอมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและปจจัยคุกคามได และสรางความสมดุลระหวาง
                  การอนุรักษและการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

                  นอกจากนี้ยังไดนอมนำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อาทิ “ปลูกปาในใจคน”
                  ใชเปนแนวคิดหลักในการเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติในทุกระดับเพื่อใหมีความตระหนัก
                  ถึงความสำคัญและกระบวนการอนุรักษ ฟนฟู และใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

                  “ใชธรรมชาติ ชวยธรรมชาติ” ในการแกไขปญหาปาเสื่อมโทรม โดยใชวิธีการ “การปลูกปา 3 อยาง





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140