Page 139 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 139

บทที่ 4

                                                 การพัฒนาแบบจำลอง



                         การจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนแบบจำลอง : ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                  ดำเนินการพัฒนา ระบบฐานขอมูล (Database System) การออกแบบฐานขอมูล (Designing
                  Databases)
                  ระบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database) การสราง Model Buide ดวยการเขียน

                  Geoprocessing Script การและ พัฒนาพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) เพื่อรองรับระบบ
                  แบบจำลองการวางแผนการใชที่ดิน คือ

                  4.1 ระบบฐานขอมูล
                        ฐานขอมูล หมายถึง วิธีในการจัดการขอมูลที่มีอยูในระบบ เพื่อใชงานไดงาย

                  รวมถึงการเปลี่ยนแปลงขอมูลไดงาย เชนการเพิ่มหรือลดขอมูล เปนตน หรือฐานขอมูล หมายถึง
                  แหลงที่ใชสำหรับเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งอยูในรูปแฟมขอมูลมารวมไวที่เดียวกัน รวมทั้งตองมีสวน
                  ของพจนานุกรมขอมูล (data dictionary) เก็บคำอธิบายเกี่ยวกับโครงสรางของฐานขอมูล และเนื่องจาก

                  ขอมูลที่จัดเก็บนั้นตองมีความสัมพันธซึ่งกันและกันทำใหสามารถสืบคน (retrieval) แกไข (modified)
                  ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสรางขอมูล (update) และจัดเรียง (sort) ไดสะดวกขึ้น (โกเมศ, 2560)
                  วิธีในการจัดการขอมูลที่มีอยูในระบบ เพื่อใชงานไดงาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงขอมูลไดงาย
                  ใชงานขอมูลในฐานขอมูล (database) และควรมีการดูแลรักษาความปลอดภัยของขอมูลเหลานั้น

                  มีการกำหนดสิทธิของผูใชงานแตละคนใหแตกตางกัน ตามแตความตองการในการใชงาน
                  (Adisak, 2011) โดยในการกระทำการดังที่กลาวมาแลว ตองอาศัยซอฟตแวรประยุกตสำหรับจัดการ
                  ฐานขอมูล ที่รวบรวมแฟมขอมูลหลาย ๆ แฟมขอมูลเขาดวยกัน โดยขจัดความซ้ำซอนของขอมูลออก
                  แลวเก็บขอมูลไวที่ศูนยกลาง เพื่อการใชงานรวมกันในหนวยงาน จากความหมายที่กลาวมาขางตน

                  ระบบฐานขอมูลจะประกอบดวยแฟมขอมูลจำนวนหลาย ๆ แฟมดังตัวอยางในรูปที่ 4-1 แฟมขอมูล
                  เหลานี้ตองมีการจัดระบบแฟมไวอยางดี กลาวคือ ขอมูลในแฟมขอมูลเดียวกันตองไมมีการซ้ำซอนกัน
                  แตระหวางแฟมขอมูลอาจมีการซ้ำซอนกันไดบาง และตองเปดโอกาสใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูล
                  และคนหาไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถ เพิ่มเติม หรือลบออกไดโดยไมทำใหขอมูลอื่นเสียหาย

                  (โกเมศ, 2560)
                        ระบบฐานขอมูลสวนใหญเปนระบบที่มีการนำระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยใน การจัดเก็บ
                  โดยมีโปรแกรม Software ชวยในการจัดการขอมูลเหลานี้ เพื่อใหไดขอมูลตามที่ผูใชตองการ

                  องคประกอบของฐานขอมูลแบงออกเปน 5 ประเภท คือ
                        1) ฮารดแวร (Hardware) ในระบบฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮารดแวรตาง ๆ
                  ที่พรอมอำนวยความสะดวกในการบริหารขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนความเร็วของหนวย
                  ประมวลผลกลาง ขนาดของหนวยความจำหลัก อุปกรณนำเขาและออกขอมูล รายงานหนวยความจำสำรอง
                  ที่จะรองรับการประมวลผลขอมูลในระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ









                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144