Page 144 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 144

4-6





                        3) รูปแบบความสัมพันธขอมูล (Relation data model) เปนลักษณะการออกแบบฐานขอมูล

                  โดยจัดขอมูลใหอยูในรูปของตารางที่มีระบบคลายแฟม โดยที่ขอมูลแตละแถว (Row) ของตารางจะแทน
                  เรคอรด (Record) สวนขอมูลแนวดิ่งจะแทนคอลัมน (Column) ซึ่งเปนขอบเขตของขอมูล (Field)
                  โดยที่ตารางแตละตารางที่สรางขึ้นจะเปนอิสระ ดังนั้นผูออกแบบฐานขอมูลจะตองมีการวางแผนถึง

                  ตารางขอมูลที่จำเปนตองใช ในระบบฐานขอมูลทรัพยากรดิน  ประกอบดวย ตารางกลุมชุดดิน ชุดดิน
                  ความลาดชัน เนื้อดินบน เนื้อดินลาง การระบายน้ำ ความอุดมสมบูรณ ความลึกดิน ความอิ่มตัวดวย
                  ดางดินลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกดินลางคาการนำไฟฟา ปฏิกิริยาดินบน ปฏิกิริยาดินลาง
                  ปริมาณกรวด ความลึกที่พบชั้นจาโรไซต และขอจำกัดของดิน และหนวยแผนที่ที่ประกอบเปน phase

                  ดินดวย (ดังตารางที่ 4-2 ถึง 4-15) (วุฒิชาติ, 2546)

                        ขอดีและขอเสียของโครงสรางแบบสัมพันธ คือ สามารถสรางตารางขึ้นมาใหมโดยอาศัยหลักการ
                  ทางคณิตศาสตรและคนหาวาขอมูลในฐานขอมูลมีขอมูลรวมกับตารางที่สรางขึ้นมาใหมหรือไม
                  ถามีก็ใหประมวลผลโดยการอานเพิ่มเติมปรับปรุงหรือยกเลิกรายการ ขอเสีย คือ การศึกษาวิธีการเขียน
                  โปรแกรมและใชฐานขอมูลจะตองอิงหลักทฤษฏีทางคณิตศาสตรจึงทำใหการศึกษาเพิ่มเติมของผูใช

                  ยากแกการเขาใจ แตในปจจุบันมีโปรแกรมการสรางฐานขอมูลหลายโปรแกรมที่พยายามทำใหการเรียนรู
                  และการใชงายขึ้น เชน โปรแกรมการสรางฐานขอมูลโดยใชภาษา SQL (Structured Query
                  Language) Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBase, Oracle เปนตน

















































                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149