Page 142 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 142

4-4











































                  รูปที่ 4-2 แสดงโครงสรางลำดับขั้นของผูสำรวจดิน ทักษะนักสำรวจดิน รายงานสำรวจดิน

                  เปนชุดดิน และสมบัติของชุดดินบางประการโดยและเขาเซ็กเมนตสุดทายก็คือเซ็กเมนตประเมินคุณภาพ
                  ที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ ซึ่งเปนตัวพึ่งของเซ็กเมนตชุดดินและกลุมชุดดินโดยการติดตอของขอมูลแบบ
                  ลำดับขั้นจำเปนจะตองอาศัยตัวชี้ (Pointer) ซึ่งสามารถแบงตัวชี้ออกเปน 2 ประเภท คือ
                  (1) ตัวชี้เซ็กเมนตที่เปนตัวพึ่ง (Child Pointer) (2) ตัวชี้เซ็กเมนตระดับเดียวกัน (Twin Pointer)

                  ขอดีและขอเสียของโครงสรางแบบลำดับขั้น คือ สามารถสรางความสัมพันธใหเดนชัดของขอมูล
                  แตละลำดับวาขอมูลเปนเซ็กเมนตราก หรือเปนพอแม (Parent) และขอมูลเปนเซ็กเมนตตัวพึ่งหรือตัวลูก
                  (Child) สวนขอเสีย โครงสรางแบบนี้มีความคลองตัวนอย เพราะตองเริ่มอานจากเซ็กเมนตที่เปนรากกอน
                  นอกจากนั้นการออกแบบฐาน ขอมูลตองระมัดระวังการซ้ำซอนของขอมูล

                        2) รูปแบบขอมูลแบบเครือขาย (Network data Model) ฐานขอมูลแบบเครือขาย
                  มีความคลายคลึงกับฐาน ขอมูลแบบลำดับชั้น ตางกันที่โครงสรางแบบเครือขาย อาจจะมีการติดตอ
                  หลายตอหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายตอหลาย (Many-to-many) กลาวคือลูก (Child) อาจมีพอแม
                  (Parent) มากกวาหนึ่ง สำหรับตัวอยางฐานขอมูลแบบเครือขายพิจารณาการจัดการขอมูลของชุดดิน

                  และกลุมชุดดิน ซึ่งรายการตัวอยาง ประกอบดวย กลุมชุดดิน ชุดดิน ความลาดชัน เนื้อดินบน
                  ความลึกดิน ความอิ่มตัวดวยดางดินลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกดินลาง คาการนำไฟฟา
                  ปฏิกิริยาดินบน หนวยแผนที่ดิน ดังนั้นการจัดขอมูลแบบเกาจะทำใหขอมูลซ้ำซอนกันมาก ดังรูปที่ 4-3











                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147