Page 136 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 136

3-102





                  ประโยชน 4 อยาง" ไดแก ไมใชสอย ไมกินได ไมเศรษฐกิจ และสรางความชุมชื้นใหแกพื้นดิน

                  นำมาใชเปนแนวคิดหลักในการอนุรักษและฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีสวนรวมของ
                  ชุมชนและภาคสวนตางๆ ทำใหชุมชนอยูรวมกับปาไมไดอยางยั่งยืน
                            6) แผนแมบทการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย (พ.ศ.2558-2593)

                  (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2558ข) เพื่อสรางความตระหนักรู
                  ความพรอม และความสามารถในการรับมือและปรับตัวตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  ภูมิอากาศและการมีสวนรวมกับประชาคมโลกในการลดหรือบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                  บนพื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน

                            7) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564
                  (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2558) เปนการถายทอดยุทธศาสตรและ
                  เปาหมายของแผนแมบทการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2564 ไปสูการปฏิบัติ
                  สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความเชื่อมโยงและสอดคลองกับพันธกรณี

                  ของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) ที่ประเทศไทยเปนภาคี
                  ตลอดจนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable DevelopmentGoals: SDGs) และเปาหมายไอจิ
                  ดานความหลากหลายทางชีวภาพ กรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                  ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ประเด็นปฏิรูปตามแผนปฏิรูปของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

                  และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2560 – 2564 (สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2560)
                            8) ยุทธศาสตรเกษตรและสหกรณ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) ใหมุงเนนในการ
                  แกไขจุดออนและเสริมจุดแข็งใหเอื้อตอการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะยาว เพื่อบรรลุวิสัยทัศน
                  เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน โดยมีแนวทางไปสูเปาหมาย คือ

                  การสรางความเขมแข็งใหกับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับ
                  มาตรฐานสินคาเกษตร การเพิ่มความสามารถในการแขงขันภาคการเกษตรดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
                  และการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน (กระทรวงเกษตรและ
                  สหกรณ, 2559ก)

                            9) แผนพัฒนาการเกษตร ในชวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12
                  มีทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาการเกษตร ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12

                  โดยใหความสำคัญกับการพัฒนาเกษตรกรใหเปนศูนยกลางการพัฒนาอยางสมดุล มีการรวมกลุมเปน
                  สถาบันเกษตรกรในชุมชนตางๆ เพื่อผลักดันใหสามารถดำเนินงานในรูปของธุรกิจเกษตรที่สามารถพึ่งพา
                  ตนเองได โดยนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลย
                  เดชฯ มาขยายผลและประยุกตใชอยางตอเนื่องการพัฒนาการเกษตรในระยะตอไป ถือเปนกาวสำคัญของ
                  การพัฒนาประเทศจากวิถีการทำเกษตรแบบดั้งเดิมไปสูการบริหารจัดการการเกษตรแบบสมัยใหม โดย

                  อาศัยเทคโนโลยี ปญญาประดิษฐ และนวัตกรรมมาสนับสนุนการผลิตสินคาเกษตร (กระทรวงเกษตรและ
                  สหกรณ, 2559ข)

                            10) แผนยุทธศาสตรกรมพัฒนาที่ดิน ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ไดการขับเคลื่อน
                  งานตาม "โครงการไทยนิยม ยั่งยืน" ในระดับพื้นที่สูการปฏิบัติโดยมีโครงการ ดังนี้ โครงการสรางฝายชะลอน้ำ
                  แบบมีสวนรวมของประชาชน โครงการเพิ่มทักษะอาชีพแกเกษตรกรผูลงทะเบียน เพื่อสวัสดิการแหงรัฐของ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141