Page 111 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 111

3-68






                  เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศหรือของ

                  สาธารณะ

                            11)  พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560

                              โดยให้รัฐมีอ านาจควบคุมการตรวจ การผลิต การรักษาแหล่งแร่ การจ าหน่ายแร่
                  และการโลหะกรรม และในเวลาเดียวกันก็อ านวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการท าเหมือง ตลอดถึง

                  การให้ความคุ้มครองแก่กรรมกรและสวัสดิภาพของประชาชน

                            12)  พระราชบัญญัติชลประทานหลวง พ.ศ. 2485

                              มีการแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน คือ พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับที่ 5)
                  พ.ศ. 2530 ซึ่งให้อ านาจกรมชลประทานในการวางแผน จัดหาแหล่งน ้า ก่อสร้างสิ่งที่จ าเป็นเพื่อการ

                  กักเก็บน ้าการรักษา ควบคุม ส่งน ้า ระบายน ้า และการอื่นที่เกี่ยวกับการชลประทานและบริหารจัดการ

                  ใช้น ้า เพื่อให้มีน ้าเพียงพอแก่การชลประทาน
                            13) พระราชบัญญัติน ้าบาดาล พ.ศ. 2520

                              แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน ้าบาดาล พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 2) ก าหนดเขตน ้าบาดาล

                  และความลึกของน ้าบาดาล ก าหนดเกณฑ์รายละเอียดเกี่ยวกับการขุดเจาะน ้าบาดาล การใช้น ้าบาดาล
                  แบบอนุรักษ์ ตลอดจนค่าธรรมเนียมในการใช้น ้าบาดาล

                        3.3.4  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)

                          การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นจุดเปลี่ยนที่ส าคัญในการ

                  เชื่อมต่อกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละ
                  ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้ก าหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมทั้งแผนงานโครงการ

                  ส าคัญที่ต้องด าเนินการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

                  เพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบ

                  จากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสมขณะเดียวกัน ยังได้ก าหนดแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนและ
                  ติดตามประเมินผลที่ชัดเจนเพื่อก ากับให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพ น าไปสู่

                  การพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย ซึ่งมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแผนการใช้ที่ดินลุ่ม

                  น ้าสาขาดังนี้
                            1)  ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

                              ปัจจุบันสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก าลังเป็นจุดอ่อนส าคัญต่อการ

                  รักษาฐานการผลิตและการให้บริการ รวมทั้ง การด ารงชีวิตของคนไทย ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการ
                  ลดลงของพื้นที่ป่าไม้ ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ความเสี่ยงใน

                  การขาดแคลนทรัพยากรน ้าในอนาคต ปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116