Page 108 - Mae Klong Basin
P. 108

3-74





                  ความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไร เชน

                  ขาวโพด มันสำปะหลัง หรือปลูกไมผลบางชนิด แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 54 54M3
                  54B 54B/52B และ 54C มีเนื้อที่ 68,097 ไร หรือรอยละ 0.37 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (16) กลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก

                  เคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก ของวัตถุตนกำเนิดดินที่มาจากวัสดุเนื้อละเอียดที่มีปูนปน
                  พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง
                  มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว ในดินชั้นลางที่ระดับความลึก 50 – 100 เซนติเมตร
                  พบชั้นหินผุ ซึ่งสวนใหญเปนหินตะกอนเนื้อละเอียด บางแหงมีกอนปูนปะปนอยูดวย สีดินเปนสีน้ำตาล

                  สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยู
                  ระหวาง 6.0-8.0 มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดิน
                  ไดแก ดินมีโครงสรางแนนทึบยากตอการไชชอนของรากพืช มักเกิดขั้นดานไถพรวนไดงาย หากไถพรวน
                  ในระยะเวลาที่ไมเหมาะสม ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรบางชนิด เชน ขาวโพด มันสำปะหลัง กลวย

                  บางแหงเปนปาละเมาะ หญาเพ็กและไผ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 55 55/31 55B
                  55BM3 55B/RC 55C 55CM3 55C/31C 55D และ 55E มีเนื้อที่ 412,416 ไร หรือรอยละ 2.18 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (17) หนวยที่ดินที่เปนดินรวนลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้นที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่
                  หรือเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลของวัสดุดินเนื้อหยาบ สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบถึงเนินเขา มีการระบายน้ำดี เนื้อดินชั้นบนเปนดินรวนปนทรายสีน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรด
                  จัดมากถึงกรดจัด เนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปน
                  กรดจัดมากถึงกรดจัด ชั้นดินลางในชวงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน เปนชั้นหินพื้นของหิน
                  เนื้อหยาบ คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.0-7.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก

                  ต่ำปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ความอุดมสมบูรณ
                  ตามธรรมชาติต่ำ การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน คือ ใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด และมันสำปะหลัง
                  บางพื้นที่มีสภาพเปนปา ปญหาในการเพาะปลูก คือ พื้นที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลาย
                  สูญเสียหนาดินไดงายและขาดแคลนน้ำในระยะที่ฝนทิ้งชวงนานประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ คือ

                  หนวยที่ดินที่ 56 56bI 56bIM3 56B 56BM3 56B/48B 56B/RC 56C 56C/48C 56D และ 56D/48D
                  มีเนื้อที่ 402,454 ไร หรือรอยละ 2.14 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (18) กลุมดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้ำ บริเวณพื้นที่เนินตะกอน เปนหนวยผสมของดินหลาย

                  ชนิดที่เกิดจากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกันซึ่งสวนใหญมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบถึงลูก
                  คลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เปนดินลึกเนื้อดินเปนพวกดินรวน
                  บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทราย หรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดิน
                  อันเปนผลมาจากการเกิดน้ำทวมใหญในอดีต ดินกลุมนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณปานกลาง และ
                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.0-7.0 ปจจุบันมี

                  การใชประโยชนคอนขางกวางขวาง นิยมใชปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตนตางๆ เนื่องจากหนวยแผนที่นี้
                  เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้นในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกวาเปนพวกดินตะกอนลำน้ำที่มี
                  การระบายน้ำดี คือ หนวยที่ดินที่ 60 60I 60I 60M3 60B และ 60BM3 มีเนื้อที่ 81,213 ไร หรือรอยละ 0.42

                  ของพื้นที่ลุมน้ำ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113