Page 104 - Mae Klong Basin
P. 104

3-70





                  คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ บางพื้นที่อาจพบลูกรังมากในชวงความลึก

                  100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน การใชประโยชนที่ดินในปจจุบันปลูกพืชไรและไมผลตาง ๆ บางบริเวณ
                  ยังคงสภาพเปนปาตามธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) คือ
                  หนวยที่ดินที่ 29 29B 29BM3 29C 29CM3 29C/47C และ 29D มีเนื้อที่ 140,762 ไร หรือรอยละ

                  0.73 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (3) กลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการทับถมของ
                  ตะกอนลำน้ำบริเวณสันดินริมน้ำ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกที่มีการ
                  ระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวน ละเอียดหรือดินทรายแปง บางแหงอาจมีชั้นดินทราย

                  ละเอียดสลับชั้นอยู และมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน สีดินเปนสีน้ำตาลหรือสีเหลืองปนน้ำตาล และ
                  อาจจะพบจุดประสีพวกสีเหลือง หรือสีเทา ในดินชั้นลาง มีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด

                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 4.5-5.5 ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงคอนขางต่ำ
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา กาแฟ และไมผลชนิดตาง ๆ ไมคอยมีปญหาในเรื่องสมบัติของดิน
                  แตอาจมีปญหาเรื่องน้ำทวม สรางความเสียหายใหแกพืชที่ปลูก หากน้ำในลำน้ำมีปริมาณมากจนไหล

                  เออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน คือ หนวยที่ดินที่ 31 31M3 31B 31BI 31BIM3 31C 31CM3
                  และ 31D มีเนื้อที่ 140,762 ไร หรือรอยละ 0.73 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (4) กลุมชุดดินที่เปนดินทรายแปงลึกมากที่เกิดจากตะกอนแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด

                  พบบนสันดินริมน้ำเกา เนินตะกอนรูปพัด หรือที่ราบตะกอนน้ำพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบถึงลูกคลื่นลาด เปนดินลึก การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยู
                  ระหวาง 5.5-6.5 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลางถึงคอนขางสูง และความอิ่มตัว

                  ดวยประจุบวกที่เปนดางคอนขางต่ำถึงปานกลาง คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตาม
                  ธรรมชาติปานกลาง การใชประโยชนที่ดินในปจจุบันปลูกพืชไรตาง ๆ เชน ขาวโพด ออย ฝาย ยาสูบ

                  และถั่วตาง ๆ บางแหงใชปลูกไมผลหรือเปนที่ตั้งบานเรือนอยูอาศัย แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ บางแหง
                  ดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) คือ หนวยที่ดินที่ 33 33I 33IM3 33bI 33bIM3 33/36 33/36I 33B และ
                  33BM3 มีเนื้อที่ 325,200 ไร หรือรอยละ 1.73 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (5) กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียดลึกมากที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ

                  หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่สวน
                  ใหญมาจากหินตะกอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี

                  ถึงดีปานกลาง คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.5 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุ
                  บวกต่ำปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ
                  มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ อาจพบลูกรังในชวงความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน

                  การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน บริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรตางๆ เชน มันสำปะหลัง ขาวโพดและถั่ว
                  บางแหงใชปลูกไมผลและไมยืนตน แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) คือ
                  หนวยที่ดินที่ 35 35M3 35b 35bI 35bIM3 35bM3 และ 35C มีเนื้อที่ 91,310 ไร หรือรอยละ 0.48

                  ของพื้นที่ลุมน้ำ







                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109