Page 103 - Mae Klong Basin
P. 103

3-69





                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0 คาความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงคอนขางสูง

                  และคาอิ่มตัวเบสต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชในฤดูฝนใชปลูกขาว
                  บริเวณที่มีแหลงน้ำสามารถปลูกพืชผัก ถั่วตางๆ และยาสูบไดในฤดูแลง ปญหาในการใชประโยชนที่ดิน
                  ไมคอยมี แตถานำมาใชทำนา ดินอาจขาดแคลนน้ำไดในชวงฝนแลง การใชประโยชนที่ดินในปจจุบันใช

                  ทำนา บางพื้นที่มีการยกรองเพื่อปลูกออย คือ หนวยที่ดินที่ 21 21I 21IM2 และ 21IM4
                  มีเนื้อที่ 51,961 ไร หรือรอยละ 0.27 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (11) กลุมชุดดินเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินเหนียวหรือดินรวนปนดินเหนียวที่เปน
                  กรวดหรือลูกรังปะปนเปนปริมาณมาก ใตชั้นดินลูกรังอาจพบชั้นดินเหนียวที่มีศิลาแลงออนปะปนเกิด

                  จากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำทับอยูบนชั้นหินผุ สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                  ตามลานตะพักลำน้ำระดับต่ำและระดับกลาง น้ำแชขังลึก 30 เซนติเมตร นาน 3-4 เดือน เปนดินตื้น
                  สวนใหญมีการระบายน้ำคอนขางเลว คาความเปนกรด-ดาง อยูระหวาง 4.5-5.5 คาความประจุใน

                  การแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟา
                  ของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทำนา บางแหงเปนปาละเมาะหรือ
                  ปาเต็งรัง คือ มีหนวยที่ดินที่ 25hi มีเนื้อที่ 2,515 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (12) กลุมดินนี้พบบริเวณที่ราบลุมหรือบริเวณพื้นลางของเนิน หรือหุบเขา มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิดจากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกัน

                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติตาง ๆ เชน เนื้อดิน สีดิน
                  ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอน ขึ้นอยูกับชนิดของ
                  วัตถุตนกำเนิดดินในบริเวณนั้น ๆ สวนมากมีกอนกรวดและเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินดวย

                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชประโยชนในการทำนา สวนในฤดูแลง ถามีแหลงน้ำ นิยมใชปลูกขาว
                  และปลูกพืชผักหรือพืชไรอายุสั้น เชน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ตามหลังนา เนื่องจากหนวยแผนที่นี้เปนหนวย
                  ผสมของดินหลายชนิด จึงเรียกวาเปนพวกดินตะกอนลำน้ำที่มีการระบายน้ำเลว คือ มีหนวยที่ดินที่
                  59 59M2 และ 59M4 มีเนื้อที่ 16,435 ไร หรือรอยละ 0.09 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                        2) ดินในพื้นที่ดอน ประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ ดังนี้

                          (1) กลุมชุดดินที่เปนพวกดินเหนียวจัดในชั้นดินลางลึก ๆ อาจพบชั้นปูนมารล
                  บริเวณเทือกเขาหินปูน หรือพวกหินภูเขาไฟมี มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  เปนดินลึก การระบายน้ำดี ระดับน้ำใตดินอยูลึกกวา 1 เมตรตลอดป คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยู
                  ระหวาง 6.5-8.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางสูง

                  คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญ
                  ใชปลูกพืชไรตาง ๆ เชน ขาวโพด ถั่วตาง ๆ ทานตะวัน ฝายและไมผลบางชนิด แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ
                  คือ มีหนวยที่ดินที่ 28 28B และ 28I มีเนื้อที่ 13,786 ไร หรือรอยละ 0.07 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (2) กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือเคลื่อนยายมา

                  ทับถมจากวัสดุหลายชนิดที่มีเนื้อละเอียด หรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ
                  หรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา การระบายน้ำดี คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.0
                  คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108