Page 100 - Mae Klong Basin
P. 100

3-66





                  3.9 ทรัพยากรดิน

                        สำหรับขอมูลหนวยที่ดิน ไดมาจากการสำรวจดินในระดับคอนขางละเอียด ที่ระดับมาตราสวน
                  1:25,000 (สำนักสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน.,2557ก; 2557ข) นำมาวิเคราะห และจัดทำหนวยที่ดิน

                  ผลจากการจัดทำหนวยที่ดิน (วุฒิชาติ, 2546) สามารถจำแนกเปนหนวยที่ดินที่ลุม ประกอบดวย
                  หนวยที่ดิน 1 1I 2I 2IM2 2/8I 2/8IM2 3 3I 3IM2 4 4I 4IM2 6 6I 6IM2 6IM4 6M2 6M4 7 7I 7IM2
                  7IM4 7M2 7M4 8 8I 8IM2 8M2 12 12I 18 18I 18IM2 18IM4 18M2 18M4 21 21I 21IM2 21IM4
                  25hi 59 59M2 59M4 หนวยที่ดินดอน ไดแก หนวยที่ดินที่ 28 28I 28B 29 29B 29BM3 29C 29CM3

                  29C/47C 29D 31 31M3 31B 31BI 31BM3 31C 31CM3 31D 33 33I 33IM3 33bI 33bIM3 33/36
                  33/36I 33B 33BM3 35 35M3 35b 35bI 35bIM3 35bM3 35C 36 36I 36M3 36bIM3 36B 36BI
                  36BM3 36C 38 38I 38IM3 38fsi 38fsiIM3 38fsiM3 38B 38C 40 40I 40M3 40bI 40bM3 40/41
                  40B 40BIM3 40C 40CI 40D 41B 43IM3 44 44M3 44B 44BI 44BM3 44C 47B 47B/55B 47B/55BI

                  47C 47C/55C 47C/RC 47D 47D/55D 47D/RC 47E 48 48I 48B 48BI 48BM3 48B/56B 48B/RC
                  48C 48CI 48C/56C 48C/RC 48D 48D/RC 48E 48E/RC 52 52M3 52/54 52/54I 52/54M3 52B
                  52BI 54B/28B 52/54B 52B/RC 52C 52D 54 54M3 54B 54B/52B 54C 55 55/31 55B 55BM3
                  55B/RC 55C 55CM3 55C/31C 55D 55E 56 56bI 56bIM3 56B 56BM3 56B/48B 56B/RC 56C

                  56C/48C 56D 56D/48D 60 60I 60M3 60B 60BM3 และ 62 และหนวยเบ็ดเตล็ด ไดแก
                  พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ (AQ) เขตทหาร (MA) ที่ดินดัดแปลง (ML) บอขุด (P) ที่ดินหินพื้นโผล (RC)
                  ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน (RL) นาเกลือ (SALT FARM) พื้นที่ชุมชน (U) และ พื้นที่น้ำ (W)

                  จากหนวยที่ดินดังกลาวขางตนไดอธิบายรายละเอียดของหนวยที่ดิน โดยแบงเปนดินที่ลุม ดินในที่ดอนและ
                  หนวยเบ็ดเตล็ด (รูปที่ 3-22) รายละเอียดแสดง ดังนี้

                        1) ดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ ดังนี้
                          (1) กลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ ในบริเวณที่มีเทือกเขาหินปูนหรือ
                  ภูเขาไฟ สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม มีน้ำแชขังในชวงฤดูฝน เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ำเลว

                  มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินแตกระแหงเปนรองลึกในฤดูแลง และมีรอยถูไถลในดิน
                  สีดินเปนสีดำ หรือสีเทาแกตลอด บางครั้งอาจพบสีน้ำตาล จุดประมีสีน้ำตาล สีเหลือง และอาจพบสีแดงบาง
                  ปะปนตลอดชั้นดิน สวนดินชั้นลางมักมีกอนปูนปะปน ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง
                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0 คาความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงคอนขางสูง
                  และคาอิ่มตัวเบสต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง

                  ปญหาหลักในการใชประโยชนที่ดินของหนวยแผนที่ไดแก การไถพรวนลำบาก เนื่องจากเปนดินเหนียวจัด
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทำนา นอกฤดูทำนาบางแหงใชปลูกขาวโพดและพืชผัก
                  แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 1 และ 1I มีเนื้อที่ 2,051 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (2) กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนผสม
                  ระหวางตะกอนลำน้ำและตะกอนน้ำทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ำกรอย ในบริเวณที่ราบลุมที่หางจากทะเล
                  ไมมากนัก มีน้ำแชขังในชวงฤดูฝน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกที่มีการระบาย
                  น้ำเลว มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดูแลง







                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105