Page 107 - Mae Klong Basin
P. 107

3-73





                  ดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ำ

                  พื้นที่ที่มีความลาดชันเกิดการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปาเบญจพรรณ
                  ปาเต็งรัง หรือ ปาละเมาะ บางแหงใชทำไรเลื่อนลอย หรือปลูกปาทดแทน ขาดแคลนน้ำ
                  บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 47B 47B/55B 47B/55BI

                  47C 47C/55C 47C/RC 47D 47D/55D 47D/RC และ 47E มีเนื้อที่ 406,395 ไร หรือรอยละ 2.15
                  ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (13) กลุมชุดดินที่เปนดิน สวนใหญเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนเศษ
                  หินหรือปนกรวด กอนกรวดขนาดใหญเปนหินกลมมน ถาเปนดินปนเศษหินมักพบชั้นหินพื้นตื้นกวา 50

                  เซนติเมตร สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้น บางแหงมีหินโผล
                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 4.5-5.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง
                  และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  พื้นที่ที่มีความลาดชันเกิดการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปา เบญจพรรณ

                  ปาเต็งรัง ปาละเมาะ และทุงหญาธรรมชาติ บางแหงใชปลูกพืชไร ยางพารา หรือไมโตเร็ว ขาดแคลนน้ำ
                  บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 48 48I 48B 48BI
                  48BM3 48B/56B 48B/RC 48C 48CI 48C/56C 48C/RC 48D 48D/RC 48E และ 48E/RC มีเนื้อที่
                  1,079,225 ไร หรือรอยละ 5.70 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (14) กลุมชุดดินที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ ทับอยูบนชั้นปูนมารล พบบริเวณที่ลาดเชิงเขาหินปูน
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินตื้นหรือถึงชั้นปูนมารล
                  มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว ดินรวนเหนียว หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง ที่มีกอนปูน
                  หรือปูนมารลปะปนอยูมาก สีดินเปนสีดำ สีน้ำตาลหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง

                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 7.0-8.5 มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไร เชน ฝาย ขาวโพด ถั่ว และ ไมผลบางชนิด เชน มะมวง มะพราว
                  และนอยหนา ถาในกรณีที่พบชั้นปูนมารลลึกกวา 25 เซนติเมตร หากนำมาใชปลูกพืชไร ปญหาในการใช
                  ประโยชนที่ดินจะมีนอย แตถาพบชั้นปูนมารลตื้นกวา 25 เซนติเมตร มีปญหาเรื่องการไถพรวน แบงเปน

                  หนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 52 52M3 52/54 52/54I 52/54M3 52B 52BI 54B/28B 52/54B
                  52B/RC 52C และ 52D มีเนื้อที่ 199,643 ไร หรือรอยละ 1.04 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (15) กลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก

                  เคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก ของวัตถุตนกำเนิดดินที่เปนพวกหินอัคนี เชน บะซอลต
                  แอนดีไซต พบบริเวณพื้นที่ดอน มักอยูใกลกับบริเวณเทือกเขาหินปูน หรือหินภูเขาไฟ มีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวน
                  เหนียวหรือดินเหนียว โดยปกติจะมีกอนปูนหรือเศษหินที่กำลังผุพังสลายตัวปะปนอยูในเนื้อดินดวย
                  ในชั้นดินลางลึก ๆ อาจพบชั้นปูนมารล สีดินเปนสีเทาเขมหรือสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนแดง ชั้นดินลาง

                  อาจมีจุดประสีเหลืองและสีแดง ปฏิกิริยาของดินสวนใหญจะเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางจัด คาความเปน
                  กรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.5-8.5 มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง ปญหาสำคัญใน
                  การใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินเหนียวจัด การไถพรวนตองทำในชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ

                  มิฉะนั้นจะทำใหดินแนนทึบ ในฤดูฝนจะมีน้ำแชขังงาย ทำใหพืชชะงักการเจริญเติบโต บริเวณที่พื้นที่มี





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112