Page 22 - Phetchaburi
P. 22

2-2





                  "…โสด ผสมสิบขาว ขามมาลุตะนาวศรี เพื่อเลือกเอาฝูงคนดี …. สิงหลทีป รอดพระพุทธศรีอารยไมตรี

                  เพชรบุรี ราชบุรีน…ส อโยธยา ศรีรามเทพนคร…" สำหรับที่ตั้งของเมืองเพชรบุรีในชวงเวลาดังกลาว
                  ไมอาจกลาวไดเนื่องจาก ไมมีหลักฐาน แนชัด แตถาหากพิจารณาจากหลักฐานที่หลงเหลืออยูใน
                  ดานศิลปสถาปตยกรรมก็ไมพบอิทธิพลศิลปะสุโขทัย ที่เดนชัด แตมีขอนาสน ใจประการหนึ่งคือ

                  ที่วัดมหาธาตุเมืองเพชรบุรี แมวาจะไมปรากฎหลักฐานแนชัดวาสรางขึ้นมาเมื่อใด และผานการบูรณะ
                  มาหลายครั้งหลายสมัย แตก็พบวาฐานรากมีอิฐขนาดใหญแบบเดียวกับที่ใชสรางโบราณสถานใน
                  วัฒนธรรมทวารวดี นาเสียดายที่ไมมีหลักฐานชัดแจง รูปทรงองคปรางคที่ปรากฏอยูก็เปนการบูรณะ
                        ในสมัยรัตนโกสินทร ซึ่งอาจคงเคาเดิมไวคลายกับองคมหาธาตุอื่นๆ ที่ไดรับการบูรณะในสมัย

                  กรุงศรีอยุธยา คือทรงเรียวแบบฝกขาวโพด ประกอบกับหลักฐานแวดลอมอื่น เชน ศาสนสถานอื่นๆ
                  ก็ปรากฏเปนสถาปตยกรรม ศิลปกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคงไดรับการบูรณะครั้งใหญในสมัยกรุงศรีอยุธยา
                  และเมื่อมีการบูรณะในปจจุบัน พบโบราณวัตถุ เชน เครื่องถวยจีนเปนเครื่องเคลือบสมัยราชวงศสุงเปน
                  จำนวนมาก ซึ่งมีอายุในราว พุทธศตวรรษที่ 16 - 19 อาจเปนการนำของมีคาในยุคกอนนำมาฝงก็เปนได

                  แตก็ไมนาจะมีอายุหางจากโบราณวัตถุมากนัก อาจจะราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงตนพุทธศตวรรษที่ 19
                  กอนการสรางกรุงศรีอยุธยา อยางไรก็ตามก็ยังมีหลักฐานอื่นที่เกาไปกวาสมัยอยุธยาเปนเครื่องสนับสนุน
                  คือ พระพุทธรูปหินทรายแดงขนาดใหญ ศิลปะแบบอูทอง และยังมีเสมา ที่มีลวดลายซึ่งนักวิชาการ
                  บางทานเชื่อวา เปนศิลปะอูทอง หรือศิลปะแบบกอนอยุธยา จึงกลาวไดวาวัดมหาธาตุ เมืองเพชรบุรีนี้

                  มีมากอนสมัยกรุงศรีอยุธยา อันเปนชวงเวลาที่พุทธศาสนาเถรวาทจากลังกา ที่นครศรีธรรมราช
                  แพรหลายขึ้นมาผานเพชรบุรีดินแดนในลุมแมน้ำเจาพระยาขึ้นไปยังสุโขทัย แลวเปนศาสนาหลักของ
                  สังคมที่เปนบอเกิดของ วัฒนธรรมอีก หลายดาน โดยเฉพาะในสวนที่เนื่องในศาสนาเปนตนวา
                  การสรางศาสนสถาน เมื่อไทยรับเอาลัทธิลังกาวงศเขามาเมื่อตนสุโขทัย ไดเกิดธรรมเนียมการมีวัดมหาธาตุ

                  เปนวัดสำคัญของเมือง แตมิไดหมายความวาพระธาตุเจดียเพิ่งจะเริ่มมีในสมัยสุโขทัย เนื่องจากมีธาตุเจดีย
                  อีกหลายองคที่มีอายุเกากวายุคสุโขทัย เชน พระบรมธาตุเมืองไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี พระธาตุพนม
                  จังหวัดนครพนม ธรรมเนียมการสรางธาตุเจดียเปนปูชนียสถานนาจะเขามาตั้งแตครั้งที่พระพุทธศาสนา
                  เขามาใน ดินแดนที่ เปนประเทศไทยในปจจุบัน ในระยะแรกๆ สวนธรรมเนียมที่เพิ่มขึ้นจากลัทธิลังกาวงศคือ

                  การมีวัดมหาธาตุเปนหลักของเมือง มีขอสนับสนุนจากโบราณสถานที่ปรากฏในปจจุบัน ในเมืองสำคัญ ๆ
                  หลายเมือง ไมวาจะเปนเมืองสุโขทัย ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก สวรรคโลก สุพรรณบุรี ราชบุรี
                  สวรรคบุรี และสิงหบุรี เปนตน ลวนแตมีวัดมหาธาตุเปนวัดหลักของเมืองทั้งสิ้น รวมทั้งเมืองเพชรบุรีดวย

                  ความสัมพันธของเมืองเพชรบุรี กับสุโขทัยในชวงเวลาดังกลาวแมวาจะไมเดนชัด แตจากขอความใน
                  จารึกสุโขทัยทั้ง 2 หลักที่กลาวขางตน ก็บงชัดวาเพชรบุรีมีฐานะเปนเมืองเมืองหนึ่ง ตำแหนงที่ตั้งของ
                  มหาธาตุนี้อยูริมแมน้ำเพชรบุรีทางฝงตะวันตก ซึ่งอยูคนละฟากกับเมืองในสมัยที่ไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมร
                  ที่มีศูนยกลางอยูที่ปราสาทวัดกำแพงแลง หากวาวัดมหาธาตุไดสถาปนาขึ้นในชวงสมัยสุโขทัย บานเมือง
                  ทางฝงตะวันตกของแมน้ำเพชรบุรี ก็คงมีความสำคัญอาจเปนศูนยกลางของเมืองในชวงเวลาดังกลาว

                  ในสมัยกรุงศรีอยุธยาปรากฏหลักฐานในกฎหมายตราสามดวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา
                  จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แหงกรุงรัตนโกสินทร ไดโปรดใหชำระขึ้นมีความตอนหนึ่งวาสมัย
                  พระบรมไตรโลกนาถ แหงกรุงศรีอยุธยา ตอนหนึ่งในพระราชบัญญัติหัวเมืองบัญญัติไววา "…ออกพระศรี

                  สุริทไชย เมืองเพชญบุรีย ขึ้นประแดงเสนฎขวา…" โดยมีฐานะเปนเมืองจัตวา และในชวงปลายสมัย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27