Page 24 - Phetchaburi
P. 24

2-4





                        เพชรบุรีในสมัยสุโขทัย

                        อาณาจักรสุโขทัยสมัยพอขุนรามคำแหงแมจะมีอำนาจครอบคลุมเพชรบุรี แตเพชรบุรีก็ยังมีอิสระ
                  อยูมาก สามารถสงทูตไปจีนได ตนราชวงศของกษัตริยเพชรบุรีในชวงสมัยสุโขทัยคือ พระพนมทะเลศิริ
                  ผูเปนเชื้อสายของพระเจาพรหมแหงเวียงไชยปราการ ราชวงศนี้ไดครองเมืองเพชรบุรีมาจนถึง

                  สมัยพระเจาอูทอง จึงไดเสด็จไปสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี
                        เพชรบุรีในสมัยอยุธยาตอนตน
                        เพชรบุรีขึ้นตอกรุงศรีอยุธยาในแบบศักดินาสวามิภักดิ์มีขุนนางควบคุมเปนชั้นๆ ขึ้นไป แตหลังจาก
                  การเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถอำนาจใน สวนกลางมีมากขึ้น เพชรบุรียังมี

                  ความสัมพันธใกลชิดกับกรุงศรีอยุธยา ดังนั้นอำนาจจากสวนกลางจึงมามีสวนในการปกครองเพชรบุรีมาก
                  กวาเดิมในสมัยพระมหาธรรมราชา ทางเขมรไดใหพระยาจีนจันตุยกทัพมาตีเมืองเพชรบุรี แตชาวเพชรบุรี
                  ปองกันเมืองไวได ตอมาพระยาละแวกไดยกทัพมาเองมีกำลังประมาณ 7,000 คน เมืองเพชรบุรีจึงตกเปน
                  ของเขมร จนถึงสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงตีเขมรชนะ เพชรบุรีจึงเปนอิสระ และเนื่องจาก

                  ทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีเปนพิเศษ จึงไดเสด็จมาประทับที่เมืองเพชรบุรีเปนเวลาถึง 5 ป กอนจะทรง
                  ยกทัพใหญไปปราบพมา และสวรรคตที่เมืองหางเจาเมืองเพชรบุรีและชาวเมืองเพชรบุรีไดรวมเปนกำลัง
                  สำคัญในการตอสูกับขาศึกหลายครั้ง นับตั้งแตสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเชษฐาธิราช
                  และสมัยพระเจาเอกทัศน โดยเฉพาะในสมัยพระเทพราชานั้น การปราบปรามเจาเมืองนครศรีธรรมราชซึ่ง

                  แข็งเมือง พระยาเพชรบุรีไดเปนกำลังสำคัญในการสงเสบียงใหแกกองทัพฝายราชสำนักอยุธยา อยางไรก็ดี
                  เมืองเพชรบุรีถูกตีแตกอีกครั้ง เมื่อพมาโดยมังมหานรธราไดยกมาตีไทย จนไทยตองเสียกรุงศรีอยุธยา
                  แกพมาเปนครั้งที่ 2 นั่นเอง
                        เพชรบุรีในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร

                        ตั้งแตสมัยพระเจาตากสินจนถึงแผนดินพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไทยยังคงทำสงครามกับพมา
                  มาโดยตลอดซึ่ง เจาเมืองและชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังคงมีสวนในการทำสงครามดังกลาว จนเมื่อพมาตกเปน
                  ของอังกฤษบทบาทของเมืองเพชรบุรีที่มีตอเมืองหลวงและราชสำนักจึงคอยๆ เปลี่ยนไป พระบาทสมเด็จ
                  พระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีตั้งแตครั้งยังทรงผนวชอยูเมื่อขึ้นครองราชยแลว

                  โปรดใหสรางพระราชวัง วัดและพระเจดียใหญขึ้นบนเขาเตี้ยๆ ใกลกับตัวเมืองและพระราชทานนามวา
                  “พระนครคีรี” ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงโปรดใหสรางพระราชวัง
                  อีกแหงหนึ่งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน” หรือที่เรียกกันภาษาชาวบานวา “วังบานปน”

                  และดวยความเชื่อที่วาอากาศชายทะเล และน้ำทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บปวยได พระบาทสมเด็จ
                  พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดเกลาใหสรางพระราชวัง “พระราชนิเวศนมฤคทายวัน” ขึ้นที่ชายหาดชะอำ
                  เพื่อใชเปนที่ประทับรักษาพระองค
                        ตราประจำจังหวัดเพชรบุรี
                           ตรงประจำจังหวัดเพชรบุรี หมายถึง รูปเขาวัง ผืนนา และตนตาลโตนด ซึ่งเขาวัง หมายถึง

                  เขาที่ตั้งของพระนครคีรี ซึ่ง ร.4 ทรงสรางและพระเจดียพระธาตุจอมเพชร นับเปนเจดียคูบานคูเมือง ผืนนา
                  หมายถึง เมืองเกษตรกรรมและความอุดมสมบูรณ ตนตาลโตนด หมายถึง ตนไมสัญลักษณของจังหวัด
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29