Page 21 - Phetchaburi
P. 21

บทที่ 2

                                                       ขอมูลทั่วไป

                  2.1  ประวัติและเอกลักษณ (สำนักงานจังหวัดเพชรบุรี, 2565)

                        ความเปนมาของจังหวัดเพชรบุรี ความเปนมา มีรองรอยของผูคนในอดีตในเขตจังหวัดเพชรบุรี
                  ปรากฏหลักฐานในรูปของโบราณวัตถุ โบราณสถาน แหลงที่อยูอาศัยหลงเหลืออยูทั่วไปตั้งแตในชวงที่
                  เปนชุมชนสมัยกอนประวัติศาสตรพบหลักฐานแถบภูเขาทางตะวันตกในเขตอำเภอทายาง จวบจนสังคม
                  พัฒนาขึ้นภายใตวัฒนธรรมแบบทวารวดี ก็พบรองรอยของชุมชนเหลานี้ในหลายพื้นที่ เชน กลุมผลิตรูป

                  เคารพหนองปรง ในเขตอำเภอเขายอย กลุมบานหนองพระ เนินโพธิ์ใหญ เนินดินแดง วัดปาแปนใน
                  เขตอำเภอบานลาด กลุมเขากระจิว ในเขตอำเภอทายาง กลุมทุงเศรษฐี ในเขตอำเภอชะอำ แตใน
                  ลุมแมน้ำเพชรบุรีก็ยังไมพบหลักฐานของเมืองที่มีคูน้ำคันดินลอมรอบแบบเมืองทวารวดีที่ พบทั่วไปใน
                  ลุมแมน้ำสำคัญอื่นๆ ในแถบภาคกลางของไทยแตก็พบหลักฐานโบราณวัตถุแบบทวารวดี คือธรรมจักร

                  หินในบริเวณชุมชนเกาทางฝงตะวันออกของแมน้ำเพชรบุรี
                        เพชรบุรีในวัฒนธรรมเขมรโบราณ
                        เมื่อชุมชนในแถบลุมแมน้ำเพชรบุรีไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรโบราณในชวงเวลานี้นาจะมี

                  การพัฒนาขึ้นในระดับหนึ่ง คงมีการสรางเมืองในรูปแบบของวัฒนธรรมเขมรโบราณเปนรูปสี่เหลี่ยมขึ้น
                  ที่ทางฝงตะวันออก ของแมน้ำเพชรบุรี (ปจจุบันอยูในเขตตำบลชองสะแก อำเภอเมืองเพชรบุรี) ผลจาก
                  การศึกษาจากภาพถายทางอากาศ (โดยผองศรี วนาสิน และทิวา ศุภจรรยา) พบวาบริเวณเมืองเพชรบุรี
                  มีรองรอยของแนวคูเมืองและกำแพงเมือง ที่มีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมที่ใกลจะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากกวา
                  สี่เหลี่ยมผืนผา ความยาวของแนวคูเมืองกำแพงเมืองแตละดานกวา 1 กิโลเมตร เมืองนี้ใชแมน้ำเพชรบุรี

                  เปนคูเมืองดานทิศตะวันตก ลักษณะของผังเมืองที่เปนรูปสี่เหลี่ยมแบบสม่ำเสมอเปนเมืองที่มีอายุ
                  หลังสมัยทวารวดีมักพบมากในชวงที่ไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรโบราณลงมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา
                  ตอนตน จึงอาจกลาวไดวารองรอยของแนวคูเมืองกำแพงเมืองที่หลงเหลืออยูนี้ เปนรองรอยของเมือง

                  ตั้งแตในชวงที่ไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมร หลักฐานที่เปนเครื่องสนับสนุนความเปนบานเปนเมืองใน
                  ชวงเวลานี้คือ โบราณสถานที่วัดกำแพงแลง อันไดแกปรางคศิลาแลง 5 องค ลักษณะทางสถาปตยกรรม
                  และรูปเคารพที่ไดจากบริเวณนี้ลวนมีอิทธิพลศิลปเขมรโบราณแบบบายน ที่มีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่
                  18 - 19 และถาหากเชื่อวาเมืองนี้คือหนึ่งในเมืองที่พระเจาชัยวรมันที่ 7 แหงราชอาณาจักรกัมพูชาได

                  ทรงประดิษฐานพระชัยพุทธมหานาถไว เมืองนี้ก็คือเมือง ศรีชัยวัชรบุรี
                        ชื่อเมืองและที่ตั้งของเมือง
                        ชื่อของเมืองเพชรบุรีปรากฏหลักฐานแนชัด ในศิลาจารึกสุโขทัย 2 หลัก คือ ศิลาจารึกหลักที่ 1
                  และศิลาจารึกวัดเขากบ ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ตอนที่กลาวถึงเมืองในอาณาเขตของสุโขทัยที่อยูทางใต

                  กลาววา "…เบื้องหัวนอน รอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝงทะเล
                  สมุทรเปนที่แลว…" จากขอความในจารึกแสดงใหเห็นวา เพชรบุรีมีฐานะเปนเมืองที่นาจะมีความสำคัญ
                  ใกลเคียงกับเมืองตางๆ ที่ถูกกลาวถึงในจารึก เชน สุพรรณภูมิ ราชบุรี และนครศรีธรรมราช และในศิลา
                  จารึกวัดเขากบ ที่กลาวถึงการแสวงหาพระธาตุจนถึงเมืองอินเดียและลังกาตอนหนึ่ง กลาวถึงเสนทาง

                  ขากลับที่ ไดเดินทางมาขึ้นบกที่ตะนาวศรี แลวตัดขามมาเพชรบุรี ยอนขึ้นไปยังราชบุรีและอโยธยาดังนี้
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26