Page 23 - Phetchaburi
P. 23

2-3





                  กรุงศรีอยุธยา เมืองเพชรบุรีจัดอยูในหัวเมืองฝายตะวันตก โดยปรากฏหลักฐานอยูใน คำใหการชาวกรุงเกา

                  โดยเรียกวา เมืองวิดพรี นอกจากในเอกสารของไทยแลว ในเอกสารของชาวตะวันตกที่เขามาในสมัย
                  กรุงศรีอยุธยายังไดบันทึกเรื่องราวของเมืองเพชรบุรี ไวอีกหลายที่ดวยกัน เชน Tome Pires ชาวโปรตุเกส
                  ที่เดินทางไปยังอินเดียและมะละกา ในป พ.ศ. 2054 และไดทำบันทึกเกี่ยวกับเมืองที่สำคัญที่มีบทบาท

                  ทางการคาระหวางโลกตะวันออกและตะวันตกเอาไว โดยกลาวถึง เมืองเพชรบุรี (Peperim, Pepory)
                  วาเปนเมืองทาที่สำคัญ เมืองหนึ่งใน เขตฝงตะวันออก แลวยังเปนเมืองที่มีเจาเมืองปกครองเยี่ยงกษัตริย
                  และยังมีสำเภาสงไปคาขายยังภูมิภาคตางๆดวยสวนในประวัติศาสตรแหงพระราชอาณาจักรสยาม
                  ของนายฟรังซัวร อังรี ตุรแปง กลาววา เมืองเพชรบุรี (Pipli) เปนทาเรือติดทะเล คาขาว ผา และฝายมาก

                  นิโกลาส แชรแวส ชาวฝรั่งเศสที่เขามากรุงศรีอยุธยาในสมัย สมเด็จ พระนารายณไดกลาวไวใน
                  ประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม ในบทที่วาดวยเมืองบางกอกและเมืองทาอื่นๆ
                  กลาวถึง เมืองเพชรบุรีไวดวยคือ "เมืองพิบพลี (Piply : เพชรบุรี)…อยูไกลจากปากน้ำเพียง 10 หรือ 12 ลี้
                  เทานั้น เปนเมืองเกามาก กลาวกันวาเคยเปนเมืองที่งดงาม…" จดหมายเหตุการเดินทางของพระสังฆราช

                  แหงเบริธ ที่เดินทางเขามากรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2205 (สมัยสมเด็จพระนารายณ) ไดกลาวถึง
                  เมืองเพชรบุรี ไววา "จากเมืองปราณบุรี เรามาถึงเมืองเพชรบุรี (Pipili) เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม โดยใช
                  เวลาเดินทาง 5 วัน เมืองนี้เปนเมืองใหญและมีกำแพงเมืองกออิฐ" จาก The History of Japan
                  together with a description of the Kingdom of Siam 1690 - 92 ของ Engellbert Kaempfer

                  M.D. ที่เดินทางเขามากรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2233 ไดบรรยายเสนทางการเดินทางไวตอนหนึ่งวา "…
                  ตอจากนั้นก็ถึงจาม (Czam) ถัดขึ้นไปคือเพชรบุรี (Putprib)"
                        ในจดหมายเหตุของมองสิเออรเซเบเรต ราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางเขามาเจริญทางพระราชไมตรี
                  ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ตอนที่กลาวถึงการเดินทางเพื่อไปลงเรือที่เมืองมะริด ในป พ.ศ.2230

                  ไดบรรยายเมืองเพชรบุรีไววา"เมืองเพชรบุรีนี้เปนเมืองขนาดใหญในประเทศสยามและเดิมๆ มาพระเจา
                  แผนดินสยามก็เคยมาประทับอยูในเมืองนี้เสมอๆ เมืองนี้มีกำแพงกอดวยอิฐลอมรอบ และมีหอรบหลายแหง
                  แตกำแพงนั้นชำรุดหักพังลงมากแลวยังเหลือดีอยูแถบเดียวเทานั้น บานเรือนในเมืองนี้ไมงดงามเลย
                  เพราะเปนเรือนปลูกดวยไมไผทั้งสิ้นสิ่งที่งามมีแตวัดวารามเทานั้น และวัดในเมือง

                        นี้ก็มีเปนอันมาก…" จากเอกสารตางๆ ดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา ในเอกสารฝายไทย เรียก
                  เมืองเพชรบุรี ในสมัยกรุงศรีอยุธยาวา เมืองเพชญบุรีย สวนที่เรียกวา เมืองวิดพรี ในคำใหการชาวกรุงเกานั้น
                  เอกสารฉบับนี้ตนฉบับเปนภาษาพมา กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณขอคัดสำเนามาจากพมา แลวมา

                        แปลเปนภาษาไทยอีกทีหนึ่ง เปนเรื่องราวพงศาวดารไทยที่พระเจาอังวะกษัตริยพมาใหเรียบเรียง
                  จากคำใหการของชาวไทยที่ถูกกวาดตอนไปเมื่อครั้งพมายกมาตีกรุงศรี อยุธยา จึงเปนไปไดวาชื่อวิดพรีนั้น
                  เปนการเรียกตามสำเนียงพมา สวนในเอกสารชาวตะวันตกที่เขามากรุงศรีอยุธยา ก็เรียกชื่อเมืองเพชรบุรี
                  แตกตางกันไปหลายแบบคือ Tome Pires ชาวโปรตุเกส (พ.ศ. 2054) เรียกวา Peperim , Pepory
                  ในจดหมายเหตุการเดินทางของพระสังราชแหงเบริธ (พ.ศ. 2205) เรียก Pipili ในประวัติศาสตรธรรมชาติ

                  และการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม ของนิโกลาส แชรแวส เรียก Piply สวนใน The History of
                  Japan together with a description of the Kingdom of Siam 1690 - 92 ของ Engellbert
                  Kaempfer M.D. (พ.ศ. 2233) เรียก Putprib เหตุที่มีการเรียกชื่อเมืองเพชรบุรีแตกตางกันหลายแบบ

                  นาจะเปนการถายเสียง จากภาษาไทยตามสำเนียงของแตละชาติแตละภาษา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28