Page 18 - Phetchaburi
P. 18

1-8





                  การใชน้ำของมนุษยไมวาดวยวิธีใดก็ตาม ยอมสงผลกระทบกับการทำงานของวัฏจักรตางๆ ในธรรมชาติ

                  ถาเราใชน้ำอยางไมรูคุณคา ทำใหน้ำปนเปอนดวยความตั้งใจหรือรูเทาไมถึงการณ ทั้งการทิ้งขยะลงใน
                  แหลงน้ำ หรือแมแตการใชสารเคมีในการเกษตร สารเคมีหรือเศษขยะที่เจือปนลงไปตามแหลงน้ำตางๆ
                  ในที่สุดสิ่งเหลานั้นก็จะยอนกลับมาหาเราไมชาก็เร็ว (มูลนิธิสืบนาคะเสถียร, 2555)

                  การพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก เปนงานที่มีความสำคัญและมีความจำเปนตอประชาชนในชนบทเปนอยางมาก
                  เปาหมายของการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก เพื่อสนองความตองการขั้นพื้นฐานในการใชน้ำของประชาชน
                  ในชนบท เชน ใชในการอุปโภคบริโภค การเลี้ยงสัตว การประมง การเพาะปลูกพืช การพัฒนาแหลงน้ำ
                  ขนาดเล็กมีกิจกรรมหลายประเภทดวยกัน คือการกอสรางอางเก็บน้ำ สระเก็บน้ำ การขุดลอกหนอง

                  บึงธรรมชาติ เพื่อกักเก็บน้ำไวใชในยามขาดแคลน การกอสรางทางน้ำ คู คลอง สงน้ำ รวมทั้งฝาย
                  ประตูระบายน้ำขนาดเล็ก เพื่อนำน้ำจากแหลงน้ำกระจายไปใชในพื้นที่เพาะปลูกไดอยางทั่วถึง การขุดบอ
                  น้ำตื้น บอน้ำบาดาลเพื่อนำน้ำจากใตดินขึ้นมาใช นอกจากนี้ยังมีการระบายน้ำออกจากพื้นที่ซึ่งมีน้ำทวม
                  เปนประจำจนใชเพาะปลูกไมได การปองกันน้ำทวมพื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งการกอสรางเพื่อปองกัน

                  น้ำเค็ม และการปรับปรุงพื้นที่ชายทะเลเพื่อการเพาะปลูก
                        1.5.14  ทรัพยากรปาไม หรือ ปาไมคือ สังคมของตนไมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อันมีความสัมพันธซึ่ง
                  กันและกัน และปกคลุมเนื้อที่กวางใหญ มีการใชประโยชนจากอากาศ น้ำ และวัตถุธาตุตางๆ ในดิน
                  เพื่อการเจริญเติบโต มีการสืบพันธุ รวมทั้งใหผลิตผลและบริการที่จำเปนตอมนุษย

                  (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557) ปาไม หมายถึง ถิ่นที่อยูอาศัยรวมกันของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว
                  นานาชนิดรวมทังจุลชีพทั้งมวลตางพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน สวนใหญประกอบดวยตนไมอันขึ้นอยูบนพื้นดิน
                  และมีรากยึดเหนี่ยวอยูใตดิน ปาไมเปนสิ่งที่ปลูกทดแทนขึ้นมาใหมได และสามารถเอื้ออำนวยประโยชน
                  ใหแกมวลมนุษย ปา ตามพระราชบัญญัติ ปาไม หมายถึง ที่ดินที่ไมมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์

                  ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน กรมปาไม (2560) ปาไม (forest) หมายถึง บริเวณที่มีตนไมหลายชนิด
                  ขนาดตางๆ ขึ้นอยูอยางหนาแนนและกวางใหญพอที่จะมีอิทธิพลตอสิ่งแวดลอมในบริเวณนั้น เชน
                  ความเปลี่ยนแปลงของลมฟา อากาศ ความอุดมสมบูรณของดินและน้ำ มีสัตวปาและสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมี
                  ความสัมพันธซึ่งกันและกัน Allen (2007) ไดใหคำจำกัดความของปาไมไวดังนี้ “ปาไม คือ สังคมของ

                  ตนไมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อันมีความสัมพันธซึ่งกันและกันและปกคลุมเนื้อที่กวางใหญมีการใชประโยชน
                  จากอากาศ น้ำ และวัตถุแรธาตุตางๆ ในดินเพื่อการเจริญเติบโตจนถึงอายุขัยและมีการสืบพันธุของตนเอง
                  ทั้งใหผลผลิตและบริการที่จำเปนอันจะขาดเสียมิไดตอมนุษย” ตอนปลายศตวรรษที่ 13 ในยุโรป “ปาไม

                  หมายถึง พื้นที่ที่พระมหากษัตริยไดสงวนไวเพื่อใชเปนสถานที่สำหรับลาสัตวของสวนพระองค สวนสิทธิ
                  ในการตัดไมและการกอสราง แผวถางปาเพื่อการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตวยังเปนของประชาชนทั่วไปอยู”
                  ปจจุบันองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติไดใหคำนิยามคำวา “ปาไม” หมายถึง “บรรดา
                  พื้นที่ที่มีพฤกษชาตินานาชนิดปกคลุมอยูโดยมีไมตนขนาดตางๆ เปนองคประกอบที่สำคัญ โดยไมคำนึง
                  วาจะมีการทำไมในพื้นที่ดังกลาวหรือไมก็ตาม สามารถผลิตไมหรือมีอิทธิพลตอลมฟาอากาศ หรือตอระบบ

                  ของน้ำในทองถิ่น นอกจากนี้พื้นที่ที่ไดถูกตัดฟน แผวถางหรือโคนเผาไมลง และมีเปาหมายที่จะปลูกปา
                  ขึ้นในอนาคต ก็นับรวมเปนพื้นที่ปาไมดวย แตทั้งนี้มิไดนับเอาปาละเมาะ หรือหมูตนไมที่ขึ้นอยูนอกปา
                  หรือตนไมสองขางทางคมนาคม หรือที่ยืนตนอยูตามหัวไรปลายนา หรือที่ขึ้นอยูในสวนสาธารณะใหเปน

                  ปาไมดวย” กรมปาไม (2558) ไดศึกษาสภาพปาไม พบวา จากอดีตเมื่อป พ.ศ. 2516 ประเทศไทยมีพื้นที่
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23