Page 15 - Phetchaburi
P. 15

1-5





                        1.5.3 ชุดดิน (Soil Series) หมายถึง หนวยในขั้นต่ำสุดของการจำแนกในระบบอนุกรมวิธานดิน

                  ซึ่งมีขอจำกัด พิสัยของลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินสม่ำเสมอมากกวาหนวยในขั้นอนุกรมวิธานที่สูงกวา
                  ในการจำแนกชุดดินอาศัยลักษณะตางๆ เชน ความหนาของชั้นดิน การจัดเรียงของชั้นดิน โครงสรางดิน
                  สีดิน เนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน การยึดตัวของดิน ปริมาณคารบอเนต เกลือชนิดตางๆ ฮิวมัส เศษหิน

                  องคประกอบของแรในดินและวัตถุตนกำเนิดดิน ชุดดินเปนหนวยแผนที่ดินที่ใชแพรหลายมาก
                  โดยเฉพาะในแผนที่แบบละเอียด ซึ่งสำคัญมากที่ชวยในการถายทอดขอมูลดินและงานวิจัยจากที่หนึ่งไป
                  ยังอีกที่หนึ่ง การใหชื่อชุดดิน ใชชื่อสถานที่พบครั้งแรก เชน ชื่อตำบล อำเภอ จังหวัด หรือชื่อของบริเวณ
                  ที่มีลักษณะเดนเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย (คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                        1.5.4 กลุมดินใหญ (Great Group) หมายถึง ระดับหนึ่งของการจำแนกในระบบอนุกรมวิธานดิน
                  เปนดินอยูระหวางอันดับยอยกับกลุมดินยอย ในการจำแนกกลุมดินใหญอาศัยลักษณะหรือสมบัติ
                  ที่สำคัญบางอยาง เชน ระบบความชื้นดิน ระบอบอุณหภูมิดิน สภาพการอิ่มตัวเบส และชั้นดินวินิจฉัย
                  (diagnostic horizon) (คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                        1.5.5 กลุมชุดดิน หมายถึง การจัดชุดดิน (Soil Series) ที่ใชระบบการจำแนกดินแบบใหมของ
                  สหรัฐอเมริกาหรือระบบอนุกรมวิธาน (Soil Taxonomy) เปนบรรทัดฐานระบบนี้เปนระบบธรรมชาติ
                  (Natural System) โดยยึดถือลักษณะและสมบัติของดินที่ปรากฏอยูในปจจุบัน ที่เปนผลสืบเนื่องมาจาก
                  วิวัฒนาการของดิน เนื่องมาจากอิทธิพลของปจจัย 5 ประการในการควบคุมการกำเนิดดิน คือ ภูมิอากาศ

                  พืชพรรณ สภาพพื้นที่ ภูมิอากาศ และเวลา โดยนำลักษณะเดนของชุดดิน (soil series) ระดับกลุมดินใหญ
                  (Great Group) ระดับหนึ่งของการจำแนกในระบบอนุกรมวิธานดิน เปนดินอยูระหวางอันดับยอยกับ
                  กลุมดินยอย ในการจำแนกกลุมดินใหญอาศัยลักษณะหรือสมบัติที่สำคัญบางอยาง เชน ระบบความชื้นดิน
                  ระบอบอุณหภูมิดิน สภาพการอิ่มตัวเบส และชั้นดินวินิจฉัย (diagnostic horizon) เพื่อสะดวกใน

                  การจัดการดินดานการเกษตร (คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)
                        1.5.6 ความอุดมสมบูรณของดิน (Soil Fertility) หมายถึง ปริมาณและชนิดของธาตุอาหารพืช
                  ที่จำเปนที่มีอยูในดิน มีมากนอยและเปนสัดสวนกันอยางไรมากพอหรือขาดแคลนสักเทาใด พืชสามารถ
                  ดึงดูดไปใชเปนประโยชนไดยากหรืองาย การประเมินความเหมาะสมของคุณสมบัติดานนี้ของดิน

                  เราสามารถตรวจสอบไดโดยวิธีการตางๆ การที่เราปลูกพืชในดิน ก็เนื่องจากดินเปนแหลงที่มาของธาตุ
                  อาหารพืชที่สำคัญถึง 13 ธาตุ ดวยกัน นักวิชาการกลาววา ธาตุอาหารที่จำเปนสำหรับการเจริญเติบโต
                  ของพืชอยางนอยที่สุดมีอยู 16 ธาตุ ดวยกันเพียง 3 ธาตุ เทานั้นคือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน

                  ที่พืชไดมาจากน้ำและกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศ สวนธาตุที่เหลือพืชจะไดมาจากดิน (คณาจารย
                  ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2541)
                        1.5.7  การจัดการหนวยที่ดิน หมายถึง การใชที่ดินในกลุมชุดดินหนึ่ง หรือหลายกลุมชุดดินที่มี
                  ลักษณะที่คลายคลึงกัน เชน เนื้อดิน ปฏิกิริยาของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดิน ความอุดมสมบูรณของดิน ที่อยูใน

                  ระดับพิกัดเดี่ยวกัน นำผลมาวิเคราะหในโปรแกรมคำแนะนำปุยรายแปลง (อัธยะ และสมพร, 2554)
                        1.5.8 ที่ดิน (Land) หมายถึง ที่ดินที่มีอยูตามธรรมชาติอันอาจใชประโยชนสนองความตองการ
                  ของมนุษยในทางตางๆ โดยคำนึงถึงผลตอบแทนจากการใชประโยชนที่ดินนั้นเปนประการสำคัญจาก

                  ที่กลาวมาขางบนนี้จึงพอมองเห็นไดวา “ที่ดิน” และ “ดิน” มีความหมายแตกตางกัน “ที่ดิน”
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20