Page 11 - Phetchaburi
P. 11

บทที่ 1

                                                          บทนำ

                  1.1  หลักการและเหตุผล

                        รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 72 (1) ไดมีการบัญญัติใหมีการวางแผนการใช
                  ที่ดินของประเทศใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน
                  ตอมาไดมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2561
                  มีแผนการปฏิรูปดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งกำหนดใหมีการจัดทำแผนการใชที่ดิน

                  ของชาติทั้งระบบใหสอดคลองและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  ของประเทศ ปรับปรุงแผนการใชที่ดินตำบลจำนวน 7,225 ตำบลใหแลวเสร็จภายในป 2565
                  ตลอดจนนำแผนการใชที่ดินตำบลไปสูการปฏิบัติเพื่อเปนไปตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
                  และประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องการประกาศแผนปฏิรูปประเทศ

                      ทรัพยากรที่ดิน เปนทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญในการดำรงชีพของมนุษย ประเทศไทยเปน
                  ประเทศเกษตรกรรมที่ตองใชที่ดินเปนปจจัยหลักการเพิ่มขึ้นของประชากร ประกอบกับความตองการใชที่ดิน
                  เพื่อใชในกิจกรรมทางเศรษฐกิจสาขาอื่นก็มีแนวโนมที่เพิ่มขึ้น เชน การพัฒนาเมือง เขตอุตสาหกรรม

                  เปนตน ดังนั้น ปญหาที่เกิดขึ้นในการใชประโยชนที่ดิน คือ การนำพื้นที่เหมาะสมทางการเกษตรมาใช
                  ในการขยายเมือง การนำพื้นที่ที่ไมเหมาะสมตอการเกษตรมาใชในการเกษตร การใชประโยชนจากที่ดิน
                  ที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ ทำใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่งสงผลกระทบทั้งทางตรงและ
                  ทางออมตอเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติ ปญหาของทรัพยากรดินและการใชที่ดินจึงแยกได 2 ปญหา
                  คือ ปญหาความเสื่อมโทรมของดินและปญหาการใชประโยชนที่ดิน ปญหาความเสื่อมโทรมของดิน

                  มีสาเหตุทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากการใชที่ดินที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ ตัวอยางของปญหา
                  เชน การชะลางพังทลายของดิน ดินขาดอินทรีย และปญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติของดินรวมกับการ
                  กระทำของมนุษย เชน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินอินทรีย (พรุ) ดินทรายจัด และดินตื้น ปญหาการใชประโยชน

                  ที่ดินทางดานเกษตรกรรมของประเทศไทย ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดิน พื้นที่ที่มีปญหา
                  การชะลางพังทลายของดินมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ดินขาดอินทรียวัตถุ ปญหาดินขาดอินทรียวัตถุอยูใน
                  พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินที่มีปญหาตอการใชประโยชนทางดานเกษตรกรรม ซึ่งสวนใหญอยูใน
                  ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนดินเค็ม ดินกรดและดินคอนขางเปนทราย อยูในพื้นที่

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การดำเนินการเพื่ออนุรักษฟนฟูทรัพยากรดินใหเปนปจจัยพื้นฐานของการ
                  พัฒนาที่ยั่งยืน โดยการกำหนดแนวทางการอนุรักษดินและน้ำการพัฒนาระบบขอมูลดิน การศึกษาวิจัย
                  ทำแปลงสาธิตในพื้นที่เกษตรและใหความรู เผยแพรแนวทางการจัดการทรัพยากรดินที่เหมาะสม และ
                  ถายทอดใหแกเกษตรกรนำไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง ทั้งนี้การดำเนินการตามมาตรการอนุรักษดิน

                  และน้ำ การฟนฟูและอนุรักษดินเพื่อการเกษตร มีการฟนฟูดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ ดินเปรี้ยว
                  ดินเค็ม ดินขาดอินทรียวัตถุ และดินชะลางพังทลาย การประเมินการสูญเสียความอุดมสมบูรณของ
                  ที่ดินนี้จะพิจารณาเฉพาะปญหาสำคัญ ไดแก ปญหาการชะลางพังทลายที่ดินทำใหสูญเสียธาตุอาหาร
                  ของพืช ปญหาดินเค็ม และปญหาดินถลม การประเมินการสูญเสียความอุดมสมบูรณจากดินเค็ม

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปญหาดินเค็มสวนหนึ่งเกิดมาจากการใชที่ดินการปลูกพืช การสรางอางเก็บน้ำ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16