Page 12 - Phetchaburi
P. 12

1-2





                  การตัดถนน การตัดไมทำลายปา กิจกรรมเหลานี้มีผลตอการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำใตดินคือ ยกระดับน้ำ

                  ใตดินสูงขึ้นทำใหละลายเกลือซึ่งอยูตามธรรมชาติใตดินขึ้นมาบนผิวดิน จึงทำใหเกิดปญหาดินเค็ม
                  สงผลใหไมสามารถปลูกพืชได ในบางพื้นที่ปลูกพืชไดแตผลผลิตลดลง และรายไดลดลง เปนตน
                  พื้นที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบงเปน 3 ระดับความเค็ม คือระดับความเค็มนอย

                  ระดับความเค็มปานกลาง และระดับความเค็มมาก เนื่องจากพื้นที่ดินเค็มระดับนอยเปนพื้นที่ที่สามารถ
                  ปลูกพืชบางชนิดไดและเจาหนาที่ของกรมพัฒนาที่ดินไดเผยแพรความรูและวิธีการในการจัดการพื้นที่ดินเค็ม
                  ธรณีพิบัติภัย ไดแก ดินถลม แผนดินไหว หลุมยุบ และการกัดเซาะชายฝงทะเล เปนภัยธรรมชาติที่
                  สรางความเสียหายแกประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติ และเศรษฐกิจ ซึ่งมีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น

                  โดยเฉพาะแผนดินถลม ซึ่งรอยละ 21 ของพื้นที่ประเทศไทยมีความเสี่ยงตอดินถลมในระดับสูง ดินถลม
                  เกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย โดยกิจกรรมของมนุษยมีสวนเรงใหเกิดมากขึ้น เชน
                  การตัดไมทำลายปา การปลูกพืชในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง การตั้งบานเรือนตามหุบเขาหรือตามทางน้ำ
                  การปลูกสรางสิ่งกอสรางขวางทางน้ำ เปนตน มูลคาความเสียหายโดยรวมดานทรัพยากรดินและการใชที่ดิน

                  จากปญหาการพังทลายของหนาดิน ปญหาดินเค็ม และปญหาดินถลม พบวา มีมูลคาความเสียหาย
                  เทากับ 7,477 ลานบาทตอป ตั้งแตป พ.ศ. 2519 จนปจจุบันก็ยังอางขอมูลดังกลาว ถึงแมวาจาก
                  การสอบถามผูเชี่ยวชาญดานดิน พบวา กิจกรรมของมนุษยมีสวนทำใหดินเค็มแพรกระจาย เชน การตัดไม
                  ทำลายปา การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน การสรางแหลงน้ำ เปนตน ดังนั้น จึงเสนอใหมีการจัดทำขอมูล

                  ดินเค็มที่สะทอนใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในปจจุบันทั้งที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษยหรือเกิดตามธรรมชาติ
                  สำหรับกรณีการสูญเสียธาตุอาหารที่เกิดจากการพังทลายของดิน ไมไดพิจารณาถึงปริมาณปุยที่ใส
                  เขาไปในแตละป การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของดินในระยะยาวที่เกิดจากวิธีการทางเขตกรรม
                  การสูญเสียหนาดินที่สงผลกระทบตอปญหาการตื้นเขินของแหลงน้ำ และกรณีของภัยพิบัติดินถลมเปน

                  เพียงความเสียหายของทรัพยสิน ยังไมไดคำนึงถึงความเสียหายที่เกิดตอระบบนิเวศ

                  1.2  วัตถุประสงค
                      1.2.1 เพื่อจัดทำฐานขอมูลแผนการใชที่ดินจังหวัดเพชรบุรี
                      1.2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรดินโดยการสำรวจ จำแนกดิน วิเคราะหดิน

                  และวางแผนการใชที่ดินใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน
                      1.2.3 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม
                  ดานการพัฒนาที่ดินสำหรับใชประโยชน ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
                      1.2.4 เพื่อสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรดินและโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตรอยางมี
                  ประสิทธิภาพ รวมถึงการปรับตัวภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

                      1.2.5 เพื่อสงเสริมความสามารถของเกษตรกร เครือขายดานการพัฒนาดิน และสถาบันเกษตรกร
                  ในการยกระดับและเพิ่มมูลคาของสินคาเกษตร

                  1.3  ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน
                      ระยะเวลา ตุลาคม 2564 – กันยายน 2565

                      สถานที่ดำเนินงาน จังหวัดเพชรบุรี
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17