Page 23 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 23

2-9




                        3.17  อ าเภอดอยหลวง

                              พระมหาธาตุเจดีย์เก้ามงคลเหนือสุดสยาม ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขา วัดอรัญญวิเวกบ้าน
                  ป่าลัน ต าบลปงน้อย ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2549 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฉลองสิริ
                  ราชสมบัติครบ 60 ปี แด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เพื่อเป็นการ

                  เทิดพระเกียรติและให้ไว้เป็นสิริมงคลแก่ปวงชนชาวไทยในพระพุทธศาสนาของพระองค์
                              ปูชนียสถาน เชียงรายมีปูชนียสถานที่ส าคัญเป็นที่เคารพสักการะ และเป็นแหล่ง
                  ศิลปกรรมโบราณสถานสูงค่าต่อการศึกษาและท่องเที่ยว คือ
                              1) อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช ก่อนเข้าตัวเมืองเชียงรายพ่อขุนเม็งราย
                  มหาราช ได้ทรงสร้างเมืองเชียงราย

                              2) วัดพระแก้ว ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงราย เป็นวัดที่ค้นพบพระแก้วมรกตหรือพระ
                  พุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ได้รับการบูรณะใหม่และเพื่อเป็นอนุสรณ์ว่าวัดพระแก้วแห่งนี้ได้มีการสร้าง
                  “พระหยกเชียงราย”

                              3) วัดพระสิงห์ เดิมเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ ภายในวัดนี้มีรอยพระพุทธ
                  บาทจ าลองบนแผ่นศิลา มีอักษรขอมโบราณจารึกว่า “กุศลาธมมา”
                              4) กู่พระเจ้าเม็งราย ตั้งอยู่หน้าวัด บนดอยงาเมือง เป็นบรรจุอัฐิของพระขุนเม็งราย
                  มหาราช

                              5) พระธาตุจอมทอง อยู่บนดอยริมฝั่งแม่น้ ากก เป็นพระธาตุเก่าแก่ที่มีก่อนที่พ่อขุน
                  เม็งรายมหาราชจะทรงสร้างเมืองเชียงราย สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1483
                              6) พระธาตุดอยตุง เป็นที่บรรจุพระรากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) ของ                                                                 2-9
                  พระพุทธเจ้าซึ่งน ามาจากมัธยมปะเทศเมื่อก่อนสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ได้ท าธงตะขาบ

                  (พื้นเมืองเรียกว่า ตุง)
                              7) พระธาตุดอยเวา พระองค์เวาหรือเว้าผู้ปกครองนครนาคพันธ์โยนกเป็นผู้สร้าง
                  เพื่อบรรจุพระเกศาธาตุองค์หนึ่ง
                              8) วัดป่าสักพระเจ้าแสนภูโปรดให้สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. 193 เป็นที่ประดิษฐาน

                  พระธาตุโคปะ
                              9) วัดพระธาตุจอมกิตติ อยู่ในท้องที่อ าเภอเชียงแสน ตั้งอยู่บนเนินเขานอกก าแพงมี
                  ทางแยกซ้ายมือ เข้าไปประมาณ 1.7 กิโลเมตร ตามพงศาวดาร

                              10) วัดพระธาตุผาเงา จากหลักฐานที่ปรากฏอยู่ เช่น พระธาตุเจ็ดยอด พระธาตุ
                  จอมจันพระธาตุผาเงา 2 ซาก โบราณสถานอื่นๆ ในบริเวณเดียวกัน ท าให้กรมศิลปากรเชื่อว่าสถานที่นี้
                  เคยรุ่งเรืองมากและมีอายุราว 1,000 กว่าปีมาแล้ว

                      4. ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม

                        วัฒนธรรมประเพณีจังหวัดเชียงรายเป็นเมืองเก่าแก่มีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ต่อเนื่องมาเป็น
                  เวลานานและมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศใกล้เคียง เช่น พม่าและลาวมาช้านาน ประกอบกับ
                  พลเมืองที่ย้ายถิ่นฐานมาจากที่ต่างๆ กัน จึงเป็นเหตุให้วัฒนธรรมประเพณีต่างๆ ที่ปรากฏสืบทอดกันมา

                  เป็นลักษณะผสมผสานกลมกลืน หรือประยุกต์ขึ้นใหม่ วัฒนธรรมทางภาษาที่ใช้สื่อสารกันทั่วไป คือ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28