Page 23 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 23

บทที 2
                                                              ่
                                                      ขอมูลทั่วไป



                                             
                  2.1  ประวัติและเอกลักษณ (สำนักงานจังหวัดสมุทรปราการ, 2566)
                        สมุทรปราการ เปนจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเปนจังหวัดในเขตปริมณฑล
                  ของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งลาสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี

                  จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 9 พฤษภาคม
                  พ.ศ. 2489
                        ในดานเศรษฐกิจ จังหวัดสมุทรปราการมีการทำนา, ประมง และอุตสาหกรรม แหลงทองเที่ยว

                  และสถานที่สำคัญ เชน ทาอากาศยานสุวรรณภูม พระสมุทรเจดียกลางน้ำ วัดอโศการาม วัดบางพลีใหญ
                                                          ิ
                  วัดไพชยนตพลเสพราชวรวิหาร วัดโปรดเกศเชษฐาราม ศาลพระเสื้อเมือง พิพิธภัณฑทหารเรือ เมือง
                  โบราณ, สถานตากอากาศบางปู ปอมพระจุลจอมเกลา สวางคนิวาส ปอมแผลงไฟฟา ฟารมจระเข ฯลฯ
                        ประวัติ
                        สมัยกอนกรุงศรีอยุธยา

                        เมื่อประมาณ 2,000–3,000 ปที่ผานมา พื้นที่ของอาวไทยกินลึกมาถึงจังหวัดราชบุรี นครปฐม
                  สุพรรณบุรี สิงหบุรี สระบุรี นครนายก และชลบุรี สวนพื้นที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ำใหมนัน
                                                                                                      ้
                  เปนพื้นที่จังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพ และสมทรปราการ เกดขนจาก
                                                                                    ุ
                                                                                                  ึ
                                                                                                  ้
                                                                                                ิ
                  ตะกอนที่แมน้ำหลายสายพัดพามาที่ปากอาวไทยแลวทับถมกันนานนับพันปจนกลายเปนแผนดิน ยังไม 
                  ปรากฏชื่อเมืองสมุทรปราการในประวัติศาสตร จะมีแตเมืองพระประแดง ซึ่งเปนเมืองหนึ่งที่ขอมสราง
                  ขึ้น เปนเมืองหนาดานทางทิศใตของขอมซึ่งตั้งอยูปากแมน้ำเจาพระยา มีหนาที่ตองแจงขาวสารไปใหราช
                  ธานีที่ขอมตั้งไวที่ลพบุรี (ละโว) สันนิษฐานวาเมืองพระประแดงจะยังคงเปนเมืองหนาดานทางทิศใตมา

                  จนตลอดสมัยสุโขทัย
                          ั
                        สมยกรุงศรีอยุธยา
                        เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ไดทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเปนราชธานี เมืองพระประแดงม ี
                  สถานะเปนเมืองประเทศราช ทางทิศใตของราชธานี เปนเมืองปอมปราการดานชั้นใน เมืองพระประแดง

                  เดิมนั้นในปจจุบันอยูในเขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร นับแตสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรง
                                                                                 ้
                                                                                   ่
                                                                                                      ุ
                  ปฏิรูปการปกครองทั่วอาณาจักร เมืองสมุทรปราการจัดอยูในกลุมหัวเมืองชันทีสี่หรือ เมืองนอย ที่มีขน
                  นางชั้นผูนอยเปนผูปกครองเมือง ดังปรากฏใน พระไอยการตำแหนงนาทหารหัวเมืองในกฎหมายตรา
                  สามดวงวา ขุนนาง ที่ปกครองเมืองสมุทรปราการหรือปากน้ำคือ "พระสมุทประการ" พระราชพงศาวดาร
                                                                                   ่
                  ฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุวา เมื่อ พ.ศ. 2041 ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที 2 ไดมีการขุดลอกคลอง
                  สำโรงเนื่องจากคลองตื้นเขิน เรือใหญเดินทางไปมาผานคลองสำโรงไมสะดวก และมีการขุดพบรูป
                  เทพารักษ 2 องคไดแก พระยาแสนตาและพระยาบาทสังขกร ซึ่งแสดงใหเห็นวามีคนอาศัยอยูบริเวณ

                  คลองสำโรงมานานแลว และเปนไปไดวาชุมชนบริเวณคลองสำโรงจะเปนชุมชนแรกของบริเวณปาก
                  แมน้ำเจาพระยา ชุมชนนี้เรียกวา บางเจาพระยา
                        ตอมาในสมัยอยุธยาตอนกลางไดเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตรในพื้นที่บริเวณปากแมน้ำ
                             ั
                                           ั
                  โดยแมน้ำไดพดพาตะกอนมาทบถมเพมขึ้นเรือย ๆ ทำใหเมืองพระประแดง (เกา) ที่อยูตรงเขตพระโขนง
                                                 ิ่
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28