Page 25 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 25

2-3





                  โยธา (เจง คชเสนี) ซึ่งเปนพระยาราม นองเจาพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) เปนพระยานครเข่อน
                                                                                                    ื
                  ขันธรามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม เปนผูรักษาเมือง
                                                                                                   ื้
                                                                                                      ี่
                                                  ื
                        พ.ศ. 2362 มีการจัดการสรางเมองสมุทรปราการขึ้นใหม โดยทรงกำหนดเขตใหตรงบริเวณพนทท ี่
                  ชาวบาน เรียกวา บางเจาพระยา (เปนเทศบาลเมืองสมุทรปราการ กับตำบลบางเมืองในปจจุบัน) อยู 
                  ระหวางปากคลองปากน้ำคลองมหาวงศ มีปอมปราการเปนเมืองหนาศึก 6 ปอมปราการ คือ ปอมประ
                  โคนชัย อยูที่ปากคลองปากน้ำ ปอมนารายณปราบศึก อยูในตำบลบางเมือง ปอมปราการ อยูในตำบล
                  บางเมือง ปอมกายสิทธิ์ ในตำบลบางเมือง ทางฝงขวาของแมเจาพระยา (ตะวันตก) มีปอมนาคราช และ
                                                                    
                  สรางปอมขึ้นบนเกาะนั้น เรียกวา ปอมผีเสื้อสมุทร และในครั้งนั้นโปรดเกลาฯ ใหขุดคลองปากลัด ใน

                  เมืองนครเขื่อนขันธขึ้นมาดวย ในการสรางเมืองสมุทรปราการใหมนี้ ไดสรางเสร็จเมื่อวันอาทิตย ขึ้น 7
                  ค่ำ เดือน 4 พ.ศ. 2365 โดยทำพิธียกเสาหลักเมืองขึ้น ซึ่งปจจุบันเปนที่ตั้งของ "ศาลเจาพอหลักเมือง"
                        ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อปราบกบฏเวียงจันทนเสร็จแลวจะทำสงคราม
                  กับญวน พระองคจึงโปรดใหสรางปอมเพิ่มเติมที่เมืองสมุทรปราการ เมื่อปชวด พ.ศ. 2371 ชื่อปอมปก

                  กาตอจากปอมประโคมชัยของเดิม, ปอมตรีเพ็ชร สรางที่บางจะเกรง (บางนาเกรงในปจจุบัน) เหนือ
                  เมืองขึ้นไป พ.ศ. 2377 สรางปอมที่บางปลากด ทางฝงตะวันตกขางเหนือเมืองสมุทรปราการ ชือปอมคง
                                                                       
                                                                                                ่
                  กระพัน ในปมะเส็ง พ.ศ. 2388 สรางปอมเพิ่มเติมที่เมืองสมุทรปราการ คือ ทำปอมปกกาตอปอม
                  นาคราช เรียกวา ปอมปกกาพับสมุทร ถึงปวอก พ.ศ. 2391 สรางปอมใหญขึ้นที่ตำบลมหาวงษ ทางฝง

                  ตะวันออกอีกหนึ่งปอม เปนปอมที่ตั้งของแมทัพ ชื่อปอมเสือซอนเล็บ สังฆราชปาเลอกัวบาทหลวงชาว
                  ฝรั่งเศสที่พำนักอยูในสยามชวงสมัยรัชกาลที่ 3 ถึงตนสมัยรัชกาลที่ 4 ระบุวา ในเมืองสมุทรปราการ
                  (หรือเมืองปากลัดหรือเมืองปากน้ำ) มีราษฎรอาศัยอยูประมาณ 6,000–7,000 คน พระบาทสมเด็จพระ
                  จอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชวังขึ้นเปนที่ประทับบนฝงตะวันออกของ

                  แมน้ำเจาพระยาเพื่อเปนเกียรติแกพระสมุทรเจดียที่ทรงบูรณะและเสริมใหแลเห็นเดนชัด สิ่งกอสรางท ี ่
                  เหลือมาในสมัยหลัง คือ พระที่นั่งสมุทาภิมุข อยูใกลสถานีรถรางสายปากน้ำ และพระที่นั่งสุขไสยาศน
                  ซึ่งเคยใชเปนที่ทำการไปรษณียโทรเลข แตปจจุบันไดรื้อถอนหมดสิ้นแลว
                        ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเริ่มสรางปอม

                                   
                  เพิ่มที่บริเวณปากแมน้ำเจาพระยา ซึ่งทหารเรือเปนผูอำนวยการสรางและดูแลตั้งแต พ.ศ. 2427 เปนตน
                  มา แลวเสร็จราวกลางป พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) พระราชทานนามวา ปอมพระจุลจอมเกลา เมื่อเปด
                                                                     ื่
                                                 ี่
                  เพียงสองเดือนเศษ เกิดเหตุการณรบทปากแมน้ำเจาพระยาเมอเย็นวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 เปน
                                                                            ่
                  เหตุใหไทยเสียดินแดนเปนครั้งที่ 7 (เสียดินแดนฝงซายแมน้ำโขงใหฝรังเศส) ตอมาเมืองสมุทรปราการ
                  และเมืองนครเขื่อนขันธ ไดรวมเขาอยูในมณฑลกรุงเทพ ขึ้นตอกระทรวงนครบาลแทน ตาม
                  พระราชบัญญัติปกครองทองที่ ร.ศ. 114
                        พ.ศ. 2449 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกลาฯ ใหยกฐานะเมืองขึ้นเปนจังหวัด เมืองสมุทรปราการ
                  เปลี่ยนสถานะเปนจังหวัดสมุทรปราการ และเมืองพระประแดงเปนจังหวัดพระประแดง จังหวัด

                  สมุทรปราการในตอนนั้นมี 4 อำเภอ คือเมือง, บางเหี้ย (ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนบางบอ) บางพลี และเกาะสี
                  ชัง (ลดฐานะลงมาเปนกิ่งอำเภอในภายหลัง เพราะพลเมืองนอย) และจังหวัดพระประแดง มี 3 อำเภอ
                                                                                                      ่
                  คือ เมือง ราษฎรบูรณะ และพระโขนง ตอมาในรัชกาลที่ 7 อันเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจตกตำ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30