Page 66 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 66

2-50





                  ตารางที่ 2-22  ราคาสับปะรดสดคละที่เกษตรกรขายได้ ปี 2560-2562

                                                     ราคาสับปะรดผลใหญ่            ราคาสับปะรดผลเล็ก

                               ปี                        (บาท/กก.)                    (บาท/กก.)
                              2560                          5.48                        1.73
                              2561                          2.47                        0.77
                              2562                          6.15                        1.67
                          GR. (ร้อยละ)                     5.94                         -1.75

                  ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 (2563)



                                      ความต้องการใช้
                                      ปริมาณผลผลิต (Supply) สับปะรดในจังหวัดรวมทั้งสิ้น 182,987 ตัน
                  ประกอบด๎วยผลผลิตที่ได๎จากการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของจังหวัด 130,705 ตัน นําเข๎าจากจังหวัดอื่น
                  52,282 ตัน โดยความต๎องการใช๎ (Demand) สับปะรดของจังหวัดรวม 156,846 ตัน และสํงออกนอก
                  จังหวัด 26,141 ตัน ทําให๎มีความสมดุลระหวํางความต๎องการใช๎กับปริมาณผลผลิตทั้งหมดในจังหวัด จึง

                  ไมํมีผลผลิตสับปะรดสํวนขาด/สํวนเกินในจังหวัด
                                      สับปะรด เกษตรกรจะนําผลผลิตจําหนํายใน 3 ชํองทาง (รูปที่ 2-7) คือ
                                      (1) การจําหนํายผลผลิตไปขายให๎แกํผู๎รวบรวมในพื้นที่ร๎อยละ 20 ของผลผลิต

                  ทั้งหมดและผู๎รวบรวมนําผลผลิตไปสํงให๎โรงงานแปรรูปสับปะรดในพื้นที่ คือ บริษัท วีแอนด๑เคสับปะรด
                  กระป๋อง จํากัด ประมาณร๎อยละ 5 ของผลผลิตทั้งหมด และสํงโรงงานแปรรูปสับปะรดในจังหวัดอื่น
                  ประมาณร๎อยละ 15 ของผลผลิตทั้งหมด
                                      (2) เกษตรกรตกลงโควตากับโรงงานแปรรูปสับปะรดในพื้นที่โดยตรงร๎อยละ 25

                  ของผลผลิตทั้งหมด
                                      (3) เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ๑การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ๎านโปุงกระทิง จํากัด
                  นําผลผลิตไปสํงให๎กับโรงงานแปรูปสับปะรดโดยตรงในโควตาของสหกรณ๑ ร๎อยละ 15 ของผลผลิต
                  ทั้งหมด ซึ่งเกษตรกรจัดสํงผลผลิตให๎แกํโรงงานแปรรูปสับปะรดในพื้นที่ร๎อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด

                  และสํงเข๎าโรงงานแปรรูปสับปะรดในจังหวัดอื่นร๎อยละ 5 ของผลผลิตทั้งหมด โดยสหกรณ๑ฯ คิดคํา
                  บริหารจัดการในอัตราร๎อยละ 2 ของยอดขายผลผลิต ทั้งนี้สหกรณ๑ฯ จะมีการปันผลจากการเก็บคํา
                  บริหารจัดการให๎แกํเกษตรกรสมาชิกในอัตราร๎อยละ 5 จากยอดที่เก็บจากสมาชิก ซึ่งเกษตรกรสํวนใหญํ
                  จะใช๎รถบรรทุก 4 ล๎อ ในการขนสํงผลผลิตไปขายให๎แกํ ผู๎รวบรวมในจังหวัด และโรงงานแปรรูปสับปะรด

                  ในจังหวัด ซึ่งบรรทุกได๎ประมาณ 3-4 ตัน สําหรับการขนสํงผลผลิตของเกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ๑ฯ
                  ไปยังโรงงานแปรรูปสับปะรดนอกจังหวัดจะใช๎รถบรรทุก 10 ล๎อ ที่บรรทุกได๎ประมาณ 9 ตัน ซึ่งจะคุ๎ม
                  กับคําใช๎จํายในการขนสํง

                                      สับปะรดบริโภคสด เกษตรกรมีชํองทางจําหนําย 2 ชํองทาง คือ เกษตรกรนํา
                  ผลผลิตไปขายเองในตลาดจังหวัดราชบุรี และจังหวัดอื่น และมีพํอค๎าเข๎ามารับซื้อในแหลํงปลูกสับปะรด
                  ของเกษตรกรประมาณร๎อยละ 40 ของผลผลิตทั้งหมด
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71