Page 91 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 91

4-11





                  น้ าได้เพราะอยู่ในพื้นที่ป่าสงวน รวมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขามีความลาดชัน (ประมาณ 86% ของ

                  พื้นที่) ท าให้ไม่สามารถกักเก็บน้ าไว้ในดินได้
                                2) สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย เนื่องเป็นพื้นที่ลาดเอียง
                  เมื่อมีฝนตกชุกท าให้สูญเสียหน้าดินได้ง่าย เป็นอุปสรรคในการท าการเกษตร

                                3) ดินส่วนใหญ่เสื่อมสภาพเนื่องจากการการใช้สารเคมี ท าให้ผลผลิตต่อไร่ต่ า
                                4) เกษตรกรส่วนใหญ่มีระบบการผลิตแบบพืชเชิงเดี่ยว (ปลูกยางพารา และปาล์ม
                  น้ ามัน) ท าให้มีความเสี่ยงด้านราคา และยังส่งผลให้การผลิตสินค้าเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหาร
                  ลดลง (ข้าว, ผัก)
                                5) เกษตรกรยังขาดทักษะด้านการวางแผน ในการบริหารจัดการผลผลิตสินค้า

                  เกษตรที่มีประสิทธิภาพ (การผลิต การเชื่อมโยงตลาด)
                                6) เกษตรกรมีต้นทุนในการท าการเกษตรสูง เนื่องจากท าการเกษตรในพื้นที่ไม่
                  เหมาะสม และขาดการบริหารจัดการที่ดี

                                7) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยขาดการรวมกลุ่ม และ/หรือขาดการ
                  บริหารจัดการที่เข้มแข็ง (สถาบันเกษตรกร) ท าให้ไม่มีอ านาจในการต่อรองทางการตลาด
                                8) เกษตรกรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ท าให้ขาดโอกาสในการ
                  เข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยด้านการผลิต และการให้ความช่วยเหลือต่างๆ ตามนโยบาย

                  ของภาครัฐ
                                9) จุดรับซื้อ หรือจุดรวบรวมผลผลิตภาคการเกษตรในพื้นที่มีไม่เพียงพอ
                  ประกอบด้วยจุดรับซื้อหรือจุดรวบรวมผลผลิตบางส่วนที่มีอยู่ขาดการบริหารจัดการที่ดี ส่งผลให้ขาดการ
                  เชื่อมโยงด้านการตลาด

                              10)  การผลิตสินค้าเกษตรยังขาดคุณภาพ ไม่มีการน าเทคโนโลยีไปปรับใช้ในการ
                  แปรรูป และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร
                              11)  เกษตรกรยังไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานที่เป็น
                  ประโยชน์ในการท าการเกษตร (การประชาสัมพันธ์ สัญญาณอินเตอร์เน็ต)

                              12)  สังคมเกษตรขาดการสืบทอดทายาททางการเกษตรจากรุ่นสู่รุ่น เนื่องจากการเข้า
                  สู่สังคมผู้สูงอายุ
                              13)  ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรที่มีคุณภาพ เนื่องจากแรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงาน

                  ต่างด้าวที่มีผลิตภาพต่ า
                        2. การวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมภายนอกที่เกี่ยวข้องของจังหวัดระนอง


                          2.1  โอกาส (Opportunity: O)
                                1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ
                  ที่ 7) พ.ศ. 2550 ให้จังหวัด และกลุ่มจังหวัดยื่นค าขอตั้งงบประมาณได้ (แผนพัฒนาจังหวัด/แผนภาค)
                  ท าให้มีโอกาสในการเชื่อมโยงแหล่งงบประมาณเพื่อผลักดันการพัฒนาภาคเกษตร
                                2) การมีนโยบาย และแผนพัฒนาในระดับต่างๆ สนับสนุนการขับเคลื่อนการ

                  ด าเนินงานด้านการเกษตร เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579), แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96