Page 90 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 90

4-10





                  4.2  การวิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่


                        จากการวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมด้านการเกษตรของจังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ถึงศักยภาพ
                  แวดล้อม ทั้งภายใน และภายนอกของจังหวัดระนอง สามารถสรุปได้ ดังนี้ รายละเอียด ดังนี้

                        1. การวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมภายในที่เกี่ยวข้องของจังหวัดระนอง

                          1.1   จุดแข็ง (Strengths: S)
                              1) มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และมีลักษณะภูมิอากาศเหมาะสมต่อการท า
                  เกษตร

                              2) มีพื้นที่ผลิตกาแฟโรบัสต้าคุณภาพดี เป็นอันดับ 1 ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้
                  ฝั่งอันดามัน และเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดชุมพร
                              3) สินค้าเกษตรที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ ได้รับการก าหนดให้เป็นจุดยืนตาม

                  ต าแหน่งทางยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน ยางพารา ประมง และสินค้า
                  ประมงแปรรูป
                              4) มีสินค้าเกษตรที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ได้แก่ กาแฟ, กะปิ, กุ้งแห้ง, และ
                  มะม่วงหิมพานต์ ซึ่งมีคุณภาพดีเป็นที่ต้องการของตลาด สามารถพัฒนาเป็นสินค้าสร้างรายได้ให้กับ

                  จังหวัด
                              5) มีพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตผลไม้เพื่อการส่งออก ได้แก่ มังคุด ทุเรียน
                              6) เป็นจังหวัดที่มีความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางบก และทางน้ า
                  (ท่าเรือน้ าลึก) รองรับการเชื่อมโยงเส้นทางการค้ากับทั้งใน และต่างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มอาเซียน

                  ช่วยลดระยะเวลา และต้นทุนในการขนส่งสินค้า
                              7) เกษตรกรมีทักษะความรู้ความช านาญเฉพาะด้านในอาชีพของตน ซึ่งมีการ
                  ถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น
                                8) เกษตรกรมีความตื่นตัวในการลดการใช้สารเคมี และมีการผลิตสินค้าเกษตรที่

                  ปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนการด าเนินงานอย่างจริงจัง
                                9) มีปราชญ์เกษตร อาสาสมัครเกษตรในพื้นที่ ที่เกษตรกรสามารถปรึกษาได้
                              10)  มีศูนย์เรียนรู้ต่างๆ ในพื้นที่ สามารถใช้เป็นต้นแบบ/สถานที่ในการแลกเปลี่ยน

                  เรียนรู้ เช่น ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนต าบล
                  ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
                              11)  มีการด าเนินงานโครงการพระราชด าริด้านต่างๆ ในพื้นที่ของจังหวัด ส่งผลให้มี
                  การประกอบอาชีพของเกษตรกรได้รับการพัฒนา
                              12)  หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บูรณาการ การท างานร่วมกัน

                  อย่างเข้มแข็ง มีภาคีเครือข่าย และแหล่งงบประมาณที่พร้อมให้การสนับสนุนการด าเนินงานอย่างจริงจัง

                          1.2   จุดอ่อน (Weakness: W)
                              1) ปริมาณน้ าไม่เพียงพอต่อการเกษตร แหล่งน้ าชลประทานไม่ครอบคลุมพื้นที่
                  เนื่องจากภูมิประเทศลาดเอียงจากฝั่งตะวันออกไปตะวันตก-ทะเลอันดามัน และไม่สามารถสร้างอ่างเก็บ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95