Page 94 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 94

4-14






                  ตารางที่ 4-2  การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรจังหวัดระนอง (SWOT analysis)

                                จุดแข็ง (Strengths : S)                       จุดอ่อน (Weakness : W)
                   1) มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์            1) ปริมาณน้ าไม่เพียงพอต่อการเกษตร แหล่งน้ าชลประทานไม่
                   2) มีพื้นที่ผลิตกาแฟโรบัสต้าคุณภาพดี             ครอบคลุมพื้นที่
                   3) สินค้าเกษตรที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ ได้รับการก าหนดให้เป็น 2) สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย
                     จุดยืนตามต าแหน่งทางยุทธศาสตร์ของจังหวัด     3) ดินส่วนใหญ่เสื่อมสภาพเนื่องจากการการใช้สารเคมี
                   4) มีสินค้าเกษตรที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด     4) เกษตรกรส่วนใหญ่มีระบบการผลิตแบบพืชเชิงเดี่ยว
                   5) มีพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตผลไม้เพื่อการส่งออก   5) เกษตรกรยังขาดทักษะด้านการวางแผน ในการบริหารจัดการผลผลิต
                   6) เป็นจังหวัดที่มีความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางบกและ  สินค้าเกษตรที่มีประสิทธิภาพ
                     ทางน้ า                                      6) เกษตรกรมีต้นทุนในการท าการเกษตรสูง
                   7) เกษตรกรมีทักษะความรู้ความช านาญเฉพาะด้านในอาชีพของตน   7) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยขาดการรวมกลุ่ม
                   8) เกษตรกรมีความตื่นตัวในการลดการใช้สารเคมี    8) เกษตรกรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน
                   9) มีปราชญ์เกษตร อาสาสมัครเกษตรในพื้นที่       9) จุดรับซื้อ หรือจุดรวบรวมผลผลิตภาคการเกษตรในพื้นที่มีไม่เพียงพอ
                   10) มีศูนย์เรียนรู้ต่างๆ ในพื้นที่ สามารถใช้เป็นต้นแบบ/สถานที่ในการ 10) การผลิตสินค้าเกษตรยังขาดคุณภาพไม่มีการน าเทคโนโลยีไปปรับใช้
                      แลกเปลี่ยนเรียนรู้                          11) เกษตรกรยังไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน
                   11) มีการด าเนินงานโครงการพระราชด าริด้านต่างๆ ในพื้นที่   12) สังคมเกษตรขาดการสืบทอดทายาททางการเกษตรจากรุ่นสู่รุ่น
                   12) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บูรณาการ   13) ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรที่มีคุณภาพ
                      การท างานร่วมกันอย่างเข้มแข็ง





                               โอกาส (Opportunity: O)                           อุปสรรค (Threat: T)
                   1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไข 1) ภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาคและในประเทศชะลอตัว
                     เพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดยื่นค าขอตั้ง 2) แรงงานต่างด้าวย้ายออกจากภาคเกษตรไปในภาคการผลิตอื่น
                     งบประมาณได้                                  3) การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการของประเทศสมาชิกอาเซียนท าให้
                   2) การมีนโยบายและแผนพัฒนาในระดับต่างๆ            เกิดการแข่งขันและแย่งตลาดกันเอง
                   3) การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจการ 4) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (ภาวะโลกร้อน) ส่งผลให้เกิดความผัน
                     ผลิตสินค้าเกษตรต้องมีการปรับตัวให้มีการพัฒนาขีดความสามารถที่  ผวนของสภาพอากาศและฤดูกาล ท าให้ผลิตผลด้านการเกษตรได้รับ
                     สูงขึ้น                                        ผลกระทบ
                   4) การก าหนดและให้การรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตร   5) กฎหมาย/ระเบียบ ของภาครัฐที่เกี่ยวเนื่องกับการควบคุมเขตพื้นที่เชิง
                   5) กระแสนิยมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ท าให้มีโอกาสส่งเสริมและ  อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
                     พัฒนาแหล่งผลิต/ผลผลิตด้านการเกษตร            6) หน่วยงานในระดับพื้นที่ (อ าเภอ/ต าบล) ยังขาดอุปกรณ์และ
                   6)  มีโอกาสสร้างความเชื่อมโยงสินค้าเกษตรในกรอบของอาหารฮาลาล   เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
                   7)  มีโอกาสส่งเสริมการตลาดยางพารา
                   8) จังหวัดได้รับโอกาส สามารถยกระดับการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม
                     ผลผลิตทางการเกษตรได้จากการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้




                  ที่มา: ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง (2562)
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99