Page 44 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 44

2-28





                                                      ปาล์มน้ ามัน



                                  ผลผลิตในจังหวัดทั้งหมด                      ความต้องการใช้
                                      291,331 ตัน                              291,331 ตัน


                            ผลปาล์มสดที่ออกสู่ตลาด (สศก.)                ขายผลปาล์มสดไปจังหวัดอื่น
                                  291,331 ตัน 100%                         (ชุมพร 60% พังงา 40%)
                                                                            291,331 ตัน 100%
                              ซื้อผลปาล์มสดจากจังหวัดอื่น               ปริมาณผลปาล์มที่โรงงานสกัดฯ

                                     0 ตัน 0%                             สามารถรับซื้อได้ 0 ตัน 0%

                  รูปที่ 2-10 การบริหารจัดการสินค้าปาล์มน้ ามันจังหวัดระนอง ปี 2560
                  ที่มา: ดัดแปลงจากส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 (2562)

                                              จากรูปที่ 2-10 พบว่า ปี 2560 ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
                  คาดการณ์ว่า จังหวัดระนองจะมีผลปาล์มออกสู่ตลาด 291,331 ตัน โดยผลผลิตจะเริ่มออกสู่ตลาดมาก
                  ในช่วงเดือนพฤษภาคม 25,142 ตัน) และให้ผลผลิตสูงสุดในเดือนมิถุนายน (27,647 ตัน) และผลผลิตจะ
                  เริ่มลดลงตั้งแต่เดือนกันยายน (19,286 ตัน) โดยผลผลิตทั้งหมดจะส่งไปขายให้กับโรงงานสกัดที่อยู่นอก

                  เขตจังหวัด

                                   1.3)  กาแฟ
                                         (1)  สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                              ในช่วงปี 2556-2560 พื้นที่ปลูก พื้นที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิต

                  ต่อไร่ ของจังหวัดระนองมีแนวโน้มลดลงจากพื้นที่ปลูก 61,110 ไร่ พื้นที่ให้ผล 60,547 ไร่ ผลผลิต 6,297
                  ตัน และผลผลิตต่อไร่ 104 กิโลกรัม ในปี 2556 เป็น 53,071 ไร่ 52,851 ไร่ 5,444 ตัน และ 103
                  กิโลกรัม ในปี 2560 หรือลดลงเฉลี่ย ร้อยละ 2.92 ร้อยละ 2.76 ร้อยละ 3.90 และร้อยละ 1.16 ต่อปี

                  ตามล าดับ เนื่องจาก เกษตรกรโค่นต้นกาแฟที่ไม่สมบูรณ์ และอายุมากออก เพื่อปลูกพืชที่ให้
                  ผลตอบแทนที่สูงกว่า รวมทั้งสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงฝนตกในช่วงติดดอกท าให้ดอกร่วงไม่ติดผล และ
                  ฝนตกในช่วงเก็บเกี่ยวท าให้เมล็ดร่วงตกพื้นแตกเสียหาย และกระบวนการผลิตเกิดความล่าช้าท าให้
                  บริหารจัดการได้ยาก เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกกาแฟโรบัสตาพันธุ์พื้นเมือง ต้นมีอายุมาก อาศัย

                  ธรรมชาติ และปลูกแบบสวนผสมร่วมกับผลไม้ชนิดอื่นๆ เช่น ทุเรียน กล้วย หมาก (ตารางที่ 2-11)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49