Page 55 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 55

3-5





                  การซึมของน้ าลงในดินต่ า เนื้อดินเหนียวและอินทรียวัตถุมีน้อย ท าให้การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไม่ดี

                  เกิดน้ าไหล่บ่า การชะล้างพังทลายของดินและแร่ธาตุได้ง่าย ท าให้ธาตุอาหารต่ า

                  ตารางที่ 3-1  ทรัพยากรดินที่มีปัญหาทางการเกษตรของจังหวัดพิษณุโลก


                                                                                          เนื อที่
                                        สถานภาพทรัพยากรดิน
                                                                                       ไร่       ร้อยละ
                  1.ดินตื นในพื นที่ดอน                                              501,210       7.41
                       1.1 ดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินปะปนกับดินที่ไม่มีปัญหา       223,684    3.31
                       1.2 ดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน                  165,953        2.45
                       1.3 ดินที่มีหินพื้นโผล่ปะปนกับดินอื่นๆ                        108,863        1.61

                       1.4 ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น                                         2,710      0.04
                  2.ดินที่ไม่มีปัญหา                                              3,388,349       50.12
                  3.พื นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                          2,344,935      34.69
                  4.พื นที่เบ็ดเตล็ด                                                 525,415       7.78
                                               รวม                                 6,759,909     100.00
                  ที่มา: ดัดแปลงจากกองส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2561)

                              พบดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน ปะปนอยู่กับดินไม่มีปัญหามากที่สุด
                  รองลงมา เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน ดินที่มีหินพื้นโผล่ปะปนอยู่กับดินอื่นๆ และดิน

                  ตื้นถึงหินพื้น ร้อยละ 3.31, 2.45, 1.61 และ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัดตามล าดับ ส่วนใหญ่พบในพื้นที่ถัดจาก
                  เทือกเขาหรือภูเขา มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา ความลาดชัน 5-35 เปอร์เซ็นต์ มีสภาพเป็น
                  ป่าไม้สมบูรณ์ ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และมะม่วง มีความเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลายของดินสูง
                  โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พบกระจายอยู่ทั่วไปในเขตอ าเภอ

                  นครไทย อ าเภอชาติตระการ อ าเภอวัดโบสถ์ อ าเภอวังทองและอ าเภอเนินมะปราง
                              นอกจากปัญหาดินตื้นที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติแล้ว ยังปัญหาความเสื่อมโทรมของ
                  ทรัพยากรดินที่เกิดจากการใช้ที่ดินแบบเข้มข้น เกษตรกรมุ่งเน้นการใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตเป็นส าคัญ
                  ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่สอดคล้องกับปริมาณธาตุอาหารพืชที่มีอยู่ในดิน ฉีดพ่นสารเคมีในการก าจัดวัชพืช ปราบศัตรูพืช

                  ทั้งโรคและแมลง ขาดการปรับปรุงบ ารุงดินและการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่ถูกต้องเหมาะสมใน
                  การท าเกษตรกรรม เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวควรก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน
                  เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรดินเพื่อการเกษตรกรรมได้ยั่งยืนต่อไป
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60