Page 57 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 57

3-7





                                   2)  สภาพพื นที่ลุ่มต่ าและน  าท่วมขัง

                              พื้นที่ลุ่มต่ าส่วนใหญ่ของจังหวัดพิษณุโลก อยู่ในอ าเภอเมืองพิษณุโลก อ าเภอพรมพิราม
                  และอ าเภอบางระก า มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มต่ าระหว่างแม่น้ ายมและแม่น้ าน่านเป็นพื้นที่รับน้ าและ
                  ถูกน้ าท่วมขังเป็นระยะเวลานานเป็นประจ าทุกปี เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่ในการท าเพาะปลูกพืชได้

                  เฉพาะในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนกรกฎาคมเท่านั้น ฤดูน้ าหลากช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน
                  น้ าจะท่วมขัง ทรัพยากรดินเป็นส่วนใหญ่เป็นดินเหนียว เกิดจากวัตถุก าเนิดพวกตะกอนน้ าพา ดินมีสีเทา
                  สีเทาเข้มหรือสีเทาปนน้ าตาล การระบายน้ าเลวถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ
                  ปานกลาง พื้นที่นี้จ าเป็นต้องมีบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อการบริหารจัดการพื้นที่และการใช้
                  น้ าอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันความเสียหายจากปัญหาอุทกภัย

                            3) การชะล้างพังทลายของดิน
                              การประเมินการชะล้างพังทลายของดินของจังหวัดพิษณุโลกใช้สมการการสูญเสียดินสากล
                  (Universal Soil Loss Equation : USLE) ของ Wischmeier & Smith (1978) มีรูปสมการดังนี้

                                             A = R K L S C P
                              A คือ ค่าการสูญเสียดินต่อหน่วยของพื้นที่
                              R คือ ค่าที่รวมทั้งปัจจัยของน้ าฝนและการไหลบ่า (Rainfall and runoff erosivityfactor)
                  ซึ่งสามารถอธิบายได้จากค่าความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝนที่ตกกระทบผิวหน้าดินกับปริมาณ

                  ความหนาแน่นของฝนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ในที่นี้ใช้ข้อมูลปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรายปี (Average annual
                  rainfall) มาใช้ในการวิเคราะห์
                              K คือ ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (Soil erodibility factor)
                  ซึ่งภายใต้สภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกันดินแต่ละชนิดจะทนต่อการชะล้างพังทลายได้แตกต่างกัน โดยจะ

                  เป็นผลมาจากสมบัติเฉพาะของดินนั้นๆ สามารถวิเคราะห์ค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะดินนี้ จากภาพ
                  Nomograph โดยประเมินได้จากสมบัติของดิน 5 ประการคือ 1) ผลรวมปริมาณร้อยละดินของทรายแป้ง
                  และปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก 2) ปริมาณร้อยละของทราย 3) ปริมาณร้อยละอินทรียวัตถุในดิน
                  4) โครงสร้างของดิน และ 5) การซาบซึมน้ าของดิน ซึ่งกรมพัฒนาที่ดิน (2545) ได้ศึกษาปัจจัยดังกล่าวและ

                  ให้ค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของดินสอดคล้องตามเนื้อดินบนของแต่ละพื้นที่ คือ บริเวณที่สูงและ
                  บริเวณที่ลุ่มต่ า ซึ่งในการประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินครั้งนี้ใช้ค่า K ตามเนื้อดินบนในภาคเหนือ
                              LS คือ ค่าปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ (Slope length and slope steepness factors)

                  เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความลาดชันและความยาวของความลาดชัน ตามปกติแล้วค่าการชะล้างพังทลาย
                  ของดินนั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อความลาดชันสูงขึ้นและเมื่อความยาวของความลาดชันลดลง ซึ่งในการประเมิน
                  อัตราการชะล้างพังทลายของดินครั้งนี้ใช้ค่าปัจจัยรวมของความลาดชันและความยาวของความลาดชัน
                  ตามการศึกษาของกรมพัฒนาที่ดิน (2545)
                              C คือ ค่าปัจจัยการจัดการพืช (crop management factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ

                  พืชคลุมดินซึ่งพืชแต่ละชนิดย่อมมีความต้านทานในการชะล้างพังทลายของดินที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
                  ความสูงของต้น ลักษณะพุ่ม หรือการยึดอนุภาคดินของรากพืชนั้นๆ เป็นต้น ในกรณีที่ไม่มีพืชปกคลุมดิน
                  ปัจจัยนี้จะมีค่าเท่ากับหนึ่ง ส่วนกรณีที่พืชปกคลุมดินสามารถต้านทานการชะล้างพังทลายของดินได้ดีขึ้น

                  ส่งผลให้วิธีการปลูกพืชทุกชนิดจะให้ค่าปัจจัยนี้น้อยกว่าหนึ่ง นอกจากนี้แล้วปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62