Page 53 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 53

3-3





                  หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดตั้งศูนย์จ าหน่ายสินค้าชุมชนและผลิตผลทางการเกษตร รวมไปถึง

                  ส่งเสริมและสนับสนุนผลิตผลทางเกษตรกรรมที่ปลอดสารพิษ และต้องการอนุรักษ์ ฟื้นฟู
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้อุดมสมบูรณ์ รวมไปถึงการเสริมสร้างจิตส านึกและกิจกรรม

                  เกี่ยวกับการอนุรักษ์และบ ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                        ซึ่งการวิเคราะห์นโยบาย และยุทธศาสตร์ เพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลกนั้น
                  จะวิเคราะห์บนพื้นฐานหลักการ“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”ตามได้กล่าวไว้ในหัวข้อ 3.1 นอกจากนี้

                  ยังวิเคราะห์อยู่บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ที่มุ่งเน้นให้เกิดความยั่งยืนใน
                  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบที่ส าคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วมของทุก
                  ภาคส่วน ความโปร่งใส เป็นธรรม ในกระบวนการตัดสินใจ หลักการอนุรักษ์ดินและน  า (Soil and

                  Water Conservation) เป็นหลักการใช้ทรัพยากรดิน และน้ าอย่างเหมาะสม ด้วยวิธีการที่ชาญฉลาด
                  คุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด และมีความยั่งยืน การน ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ ามาใช้เพื่อป้องกันและ
                  รักษาดินไม่ให้ถูกชะล้างพังทลาย ทั้งบนพื้นที่ที่มีความลาดเทต่ าจนถึงพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง หลักการ
                  บริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ (Ecosystem Approach) โดยค านึงถึงการบูรณาการด้านการจัดการ

                  ที่ดิน น้ า และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในบริเวณนั้น ให้เกิดความสมดุลในด้านการอนุรักษ์ มีการน าทรัพยากรมา
                  ใช้อย่างยั่งยืน หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ที่มุ่งเน้นการค านึงถึงขีดจ ากัด
                  ของทรัพยากรธรรมชาติ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หลักการ
                  พัฒนาที่ยึดคนเป็นศูนย์กลาง (Human - Centered Development) ซึ่งเป็นหลักการพัฒนาโดยใช้

                  “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ด้วยการบูรณาการให้เกิดองค์รวม มีดุลยภาพทั้งมิติด้านสิ่งแวดล้อม
                  และมิติด้านเศรษฐกิจ มีความสมดุล ระหว่างคน ธรรมชาติ และสรรพสิ่ง ที่เกื้อกูลกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการ
                  พัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (Participation) ที่เปิดโอกาสให้
                  เกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าร่วมแสดงความคิด ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการ

                  ตัดสินใจ และร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนที่
                  น าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และหลักภูมิสังคม (Geosocial) ที่เน้นการพัฒนาตามสภาพตามความเป็น
                  จริงของภูมิประเทศ ทั้งในด้านพื้นที่ดิน ด้านสังคมวิทยา และด้านวัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนปัจจัยที่
                  เกี่ยวกับนิสัยใจคอและอัธยาศัยของคนในพื้นที่ โดยค านึงถึงความพร้อมของทุกคนในสังคม ซึ่งจะเป็น

                  แรงผลักดันและพลังในการร่วมกันคิดร่วมกันท าในสิ่งที่ทุกคนเห็นว่าเป็นปัญหาและจะต้องพัฒนาให้ก่อ
                  ประโยชน์สุขแก่ส่วนรวมในสังคม (แผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ
                  (พ.ศ. 2560 – 2564)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58