Page 40 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 40

2-26





                                      วิถีตลาดปาล์มน ้ามันของจังหวัดพังงา ปี 2560 ผลปาล์มน ้ามันของ

                  จังหวัดพังงาทั งหมดที่ออกสู่ตลาด เกษตรกรร้อยละ 90 จะนิยมขายผลผลิตผ่านลานเท และที่เหลืออีก
                  ร้อยละ10 เกษตรกรจะขายผลผลิตให้กับโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดโดยตรง เนื่องจากลานเท
                  สวนใหญ่จะมีที่ตัดปาล์มน ้ามันเป็นของตนเอง เพื่อคอยให้บริการ นอกจากนั นลานเทยังมีการให้บริการ

                  ในการตัดแต่งทางใบและใสปุ๋ยร่วมด้วยท้าให้เกิดความสะดวก ในจังหวัดมีลานเททั งหมด 91 ลานเท
                  ครอบคลุมใน 7 อ้าเภอ ซึ่งประกอบด้วยอ้าเภอทับปุด 25 ลานเท อ้าเภอท้ายเหมือง 18 ลานเท อ้าเภอ
                  เมือง 11 ลานเท อ้าเภอคุระบุรี 10 ลานเท อ้าเภอตะกั่วป่า 9 ลานเท อ้าเภอตะกั่วทุง 9 ลานเท และ
                  อ้าเภอกะปง 5 ลานเท ตามล้าดับ โดยผลปาล์มที่ลานเทรับซื อร้อยละ 90 ของผลผลิตทั งหมด หรือ
                  ประมาณ 0.58 ล้านตัน ขายให้กับโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดร้อยละ 33 ของผลผลิตที่รับซื อ หรือ

                  ประมาณ 0.19 ล้านตัน และที่เหลืออีกร้อยละ 67.0 หรือ ประมาณ 0.39 ล้านตัน ลานเทจะขนส่งผล
                  ปาล์มไปขายให้กับโรงงานสกัดน ้ามันปาลมนอกจังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่จะขนส่งไปขายให้กับโรงงานสกัด
                  น ้ามันปาล์มในจังหวัดกระบี่ และสุราษฎรธานี คิดเป็นร้อยละ 60.0 และร้อยละ 40.0 ตามล้าดับ

                                      ปัจจุบันจังหวัดพังงามีโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มทั งหมด 4 โรงงาน
                  ก้าลังการผลิตรวม 0.80 ล้านตันต่อปี โดยประกอบด้วย โรงสกัดแบบหีบแยกเมล็ดใน (โรง A) จ้านวน
                  2 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 97.5 ของก้าลังการผลิตทั งหมดและโรงงานแบบหีบรวมเมล็ดใน (โรง B)

                  จ้านวน 2 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ของก้าลังการผลิตทั งหมด แต่ในปี 2560 จังหวัดพังงา จะมีโรงงาน
                  ที่ด้าเนินการเพียง 2 โรงงาน มีความต้องการผลปาล์มประมาณ 0.51 ล้านตันต่อปี และยังมีลานเทนอก
                  จังหวัด ได้แกลานเทจากจังหวัดชุมพร และระนอง ที่น้าผลผลิตปาล์มน ้ามันเข้ามาจ้าหน่ายด้วย
                  เมื่อเปรียบเทียบระหว่างความต้องการใช้ผลปาล์มตามก้าลังการผลิตของโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มใน
                  จังหวัด ซึ่งมีประมาณ 0.64 ล้านตันต่อปี กับผลปาล์มที่โรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดสามารถรับซื อ
                  ได้ประมาณ 2.44 ล้านตัน ส่งผลให้โรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดสามารถใช้ก้าลังผลิต (Utilization)

                  ได้เพียงร้อยละ 35.77 ของก้าลังการผลิต ส้าหรับน ้ามันปาล์มที่โรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดพังงา
                  สามารถผลิตได้ ซึ่งทั งหมดเป็นน ้ามันปาล์มดิบ (CPO) โดยโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มจะพิจารณาขายน ้ามัน
                  ปาล์มใน 3 ชองทาง คือ 1) ขายให้กับโรงกลั่นน ้ามันปาล์มซึ่งปัจจุบันมีทั งหมด 14 โรงงาน ซึ่งทั งหมด
                  ตั งอยู่นอกเขตจังหวัด 2) ขายให้กับโรงงานผลิตไบโอดีเซลซึ่งปัจจุบันมีทั งหมด 12 โรงงาน ซึ่งทั งหมด
                  ตั งอยู่นอกเขตจังหวัด และ 3) หากราคาสามารถแข่งขันได้ก็จะมีการส งออกไปบาง
                  ส่วน ทั งนี โรงสกัดน ้ามันปาล์มอาจน้าน ้ามันปาล์มที่ผลิตได้ขายให้กับผู้ซื อโดยตรงหรือขายผ่าน
                  เทรดเดอร์/โบรกเกอร์ สวนน ้ามันปาล์มที่เหลือโรงงานสกัดจะเก็บไวในแท็งกเก็บภายในโรงงานหรือน้าไป

                  ฝากไวที่คลังรับฝาก ซึ่งปัจจุบันมีทั งหมด 12 คลังรับฝาก ซึ่งทั งหมดตั งอยู่นอกเขตจังหวัด รูปที่ 2-9
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45