Page 37 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 37

2-23







                                                  น้ ายางสด                 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
                                                   98.3 %
                                                                             โรงงานแปรรูป 7 โรง

                          ข้อมูลพื้นฐาน ปี 60
                                                                             น้ ายางข้น 12.45 %
                     ผลผลิตดิบ 142,781 ตัน                                 ก้าลังการผลิต 11 พันตัน/ปี
                     (คิดเป็นเนื อยางแห้ง 135,642 ตัน)
                    ผลผลิตต่อไร่ 263 กก.          ยางแผ่นดิบ
                                                                           ยางแผ่นรมควัน 67.88 %
                     เนื อที่ยืนต้น 688,432 ไร่    1.5 %                   ก้าลังการผลิต 60 พันตัน/ปี
                     เนื อที่กรีด 543,545 ไร่
                     เกษตรกร 3,310 ครัวเรือน
                                                                              ยางแท่ง 19.67 %
                                                                          ก้าลังการผลิต 17.38 พันตัน/ปี


                                                 ยางก้อนถ้วย                   พ่อค้าคนกลาง
                                                   0.2 %

                  รูปที่ 2-6 วิถีการตลาดยางพาราจังหวัดพังงา 2560
                  ที่มา:  ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)

                                  (2)   การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือก
                                      ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตมะพร้าวผลแก่ ปีเพาะปลูก 2559 ของ
                  จังหวัดพังงา ในพื นที่เหมาะสมส้าหรับการปลูก (S1, S2) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนรวม 9,629 บาทต่อไร่
                  ประกอบด้วยต้นทุนผันแปร 6,266 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 3,363 บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย
                  268 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ้าหน่ายได้เฉลี่ย 49.50 บาทต่อกิโลกรัม มีผลตอบแทนไร่ละ 13,221 บาท
                  และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 3,592 บาท
                                      ในพื นที่ไม่เหมาะสมส้าหรับการปลูก (S3, N) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุน
                  การผลิตรวม 8,682 บาทต่อไร่ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปร 5,371 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 3,311

                  บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 230 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ้าหน่ายได้เฉลี่ย 49.50 บาทต่อกิโลกรัม มี
                  ผลตอบแทนไร่ละ 11,346 บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 2,664 บาท
                                      เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั งหมด (BCR) พบว่า ในพื นที่
                  เหมาะสมมาก (S1, S2) และพื นที่ไม่เหมาะสม (S3, N) เท่ากับ 1.37 และ 1.31 ตามล้าดับ มีค่ามากกว่า
                  1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน ตารางที่ 2-8
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42