Page 33 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 33

2-19





                        1.2  ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดพังงา (Gross Provincial Product, GPP)

                            ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products: GPP) หมายถึง สถิติที่วัดผล
                  รวมมูลค่าของสินค้าและบริการขั นสุดท้ายที่ผลิตขึ นในจังหวัดในช่วงระยะเวลา 1 ปี (ส้านักงานคลัง
                  จังหวัดนราธิวาส, 2554 อ้างอิงถึงใน การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่ส้าคัญจังหวัดพังงา,

                  2562)
                            จากรายงานของส้านักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดพังงา (GPP)
                  ปี 2560 มีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจ้าปี เท่ากับ 71,761 ล้านบาท เพิ่มขึ นจากปี 2559 เท่ากับ 6,437
                  ล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2560 มีค่าเท่ากับ 38,203 บาทต่อคน
                  ต่อปี เพิ่มขึ นจากปี 2559 เท่ากับ 1,542 บาท โดยอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี (Long term Growth)

                  ค้านวณตั งแต่ปี พ.ศ. 2551-2560 ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 8.86 และ 6.31 ตามล้าดับ ตารางที่ 2-6 และ รูปที่ 2-
                  4
                        1.3  อุตสาหกรรม

                               จากรายงานการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดพังงา ปี 2562 ของ
                  ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 และจากการส้ารวจ สามารถสรุปอุตสาหกรรมการเกษตรได้ดังนี
                               1) โรงงานผลิตยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน้ ายางขน ประกอบด้วย โรงงานขนาด
                  ใหญ่กลาง 6 โรงงาน และโรงงานขนาดเล็ก 6 โรงงาน

                               2) สหกรณกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยางบานบางทอง จ ากัด ผู้ประกอบการ
                  ยางเครปรายย่อย จ้านวน 5 โรงงาน
                               3) กลุมสถาบันเกษตรกรผู้รวบรวมวัตถุดิบเพื่อเขาโรงงาน จ้านวน 15 แห่ง
                               4) ลานเท จ้านวน 87 ลานเท ใน 7 อ้าเภอ ประกอบด้วย อ้าเภอทับปุด 25 ลานเท

                  อ้าเภอท้ายเหมือง 18 ลานเท อ้าเภอเมือง 11 ลานเท อ้าเภอคุระบุรี 10 ลานเท อ้าเภอตะกั่วปา 9
                  ลานเท อ้าเภอตะกั่วทุง 9 ลานเท และอ้าเภอกะปง 5 ลานเท
                               5) โรงงานสกัดน้ ามันปาลมในจังหวัด จ้านวน 4 โรงงาน ประกอบด้วย โรงสกัดแบบ
                  หีบแยกเมล็ดใน (โรง A) จ้านวน 2 โรงงาน และโรงงานแบบหีบรวมเมล็ดใน (โรง B) จ้านวน 2 โรงงาน

                  ปจจุบันมีโรงงานสกัดน ้ามันปาลม ที่ยังคงด้าเนินการ จ้านวน 2 โรงงาน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38