Page 35 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 35

2-21





                        1.4  พืชเศรษฐกิจส าคัญในจังหวัดพังงา

                            1)  พืชเศรษฐกิจส าคัญ 4 ล าดับ
                              จากรายงานการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่ส้าคัญจังหวัดพังงา ปี 2562
                  ของส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 พบว่า การวิเคราะห์สินค้าเกษตรที่ส้าคัญสูงสุด 4 ล้าดับแรก

                  ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน ้ามัน ทุเรียน และมังคุด โดยศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน
                  เปรียบเทียบการผลิตในพื นที่เหมาะสมมาก (S1) และเหมาะสมปานกลาง (S2) กับพื นที่เหมาะสมน้อย
                  (S3) และพื นที่ไม่เหมาะสม (N) และศึกษาวิเคราะห์ อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) วิถีการตลาด
                  สามารถสรุปได้ดังนี
                              1.1)  ยางพารา

                                  (1)   สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                      จังหวัดพังงามีพื นที่ปลูกยางพารา 628,954 ไร่ ปีเพาะปลูก 2561
                  มีเนื อที่ให้ผล 554,420 ไร่ ในช่วง 5 ปี (ปี 25557 – 2561) มีเนื อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่

                  รวมลดลงเฉลี่ยร้อยละ 1.10 1.94 และ 0.91 ต่อปี ตามล้าดับ แหล่งปลูกที่ส้าคัญอยู่ในอ้าเภอตะกั่วทุง
                  อ้าเภอท้ายเหมือง อ้าเภอกะปง อ้าเภอเมืองพังงา และอ้าเภอตะกั่วป่า จ้าแนกได้เป็นพื นที่ความ
                  เหมาะสมสูง (S1) 22 ไร ความเหมาะสมปานกลาง (S2) 364,170 ไร ความเหมาะสมน้อย (S3) 11,174
                  ไร และพื นที่ไม่เหมาะสม (N) 253,586 ไร ตารางที่ 2-7 และรูปที่ 2-5
                                      วิถีตลาดยางพาราของจังหวัดพังงา ปี 2560 รูปแบบลักษณะตลาด

                  ยางพาราในจังหวัดพังงา เป็นตลาดของผู้ซื อเนื่องจากมีผู้ซื อจ้านวนน้อยรายขณะที่เกษตรกรหรือผู้ขายซึ่ง
                  มีจ้านวนมากและส่วนมากเป็นเจาของสวนยางขนาดเล็ก ในปัจจุบันอุตสาหกรรมยางพาราของจังหวัด
                  พังงาส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมต้นน ้าและกลางน ้า มีโรงงานอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อท้าให้เกิด
                  มูลค่าเพิ่มน้อยมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะส่งออกไปยังต่างประเทศ โดยภายในจังหวัดมีโรงงานผลิตยางแท่ง
                  ยางแผ่นรมควัน และน ้ายางข้น มีจ้านวน 12 โรงงาน ก้าลังการผลิตรวมประมาณ 88,380 ตันต่อปี แยก
                  เป็นโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลาง 6 โรงงาน สหกรณ์กองทุนสงเคราะห์การท้าสวนยางบ้านบางทอง

                  จ้ากัด ผู้ประกอบการยางเครปรายย่อย จ้านวน 5 โรงงาน และกลุ่มสถาบันเกษตรกรผู้รวบรวมวัตถุดิบ
                  เพื่อเข้าโรงงาน จ้านวน 15 แหง
                                      จากผลผลิตยางพาราของเกษตรกรในพื นที่ทั งหมดส่วนใหญ่จะถูกน้าไป
                  ขายในรูปของน ้ายางสดร้อยละ 0.2 ยางก้อนถ้วยร้อยละ 1.5 และยางแผ่นดิบ คิดเป็นร้อยละ 98.3
                  ตามล้าดับ โดยผลผลิตน ้ายางสดจะถูกขายผ่านพ่อค้าคนกลางตามจุดรับซื อน ้ายางในพื นที่ และขายผ่าน

                  สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่ และบางส่วนขายตรงเข้าโรงงาน ในขณะที่ผลผลิตในรูปยาง
                  ก้อนถ้วย สวนมากจะถูกขายให้พ่อค้าคนกลางซึ่งเป็นพ่อค้าเร่ พ่อค้าระดับหมูบ้านหรือต้าบล และ
                  พ่อค้าระดับอ้าเภอหรือจังหวัด และขายผ่านสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร ส้าหรับผลผลิตในรูปยางแผ่นดิบ

                  จะมีช่องทางจ้าหน่ายมากขึ นโดยจะถูกขายผ่านพ่อค้าคนกลางขายผ่านสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร และ
                  เกษตรกรรายใหญ่บางรายจะขายตรงให้โรงงานแปรรูป รูปที่ 2-6
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40