Page 39 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 39

2-25





                                  (3)   การปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้ายางพารา

                                      (3.1)   การปลูกพืชทดแทนยางพาราในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3, N)
                                          (3.1.1) ทุเรียน พื นที่การเพาะปลูกยางพาราสามารถ
                  ปรับเปลี่ยนพื นที่ไปปลูกทุเรียนทดแทนได้ 364,192 ไร จากพื นที่ปลูกยางพารารวม 628,952 ไร และ

                  เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตสินคายางพารา พบวา การผลิต
                  ยางพาราในพื นที่ไม่เหมาะสมจะมีต้นทุนการผลิต เทากับ 8,682 บาทตอไร เกษตรกรจะได้รับ
                  ผลตอบแทนเทากับ 11,369 บาทตอไร ท้าใหเกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเทากับ 2,687
                  บาทตอไร สวนทุเรียนมีต้นทุนการผลิตเทากับ 6,543 บาทตอไรเกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนเทากับ
                  22,117 บาทตอไร ท้าใหเกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิต เทากับ 15,574 บาทตอไร

                  อย่างไรก็ตามสิ่งที่ตองตระหนักและใหความส้าคัญ คือ ในกรณีที่พื นที่สามารถปลูกทุเรียนทดแทนได้
                  เกษตรกรอาจมีความเสี่ยง เนื่องจากทุเรียนเป็นพืชอายุยืน ราคามีความผันผวน และตองใชเวลาในการ
                  ปลูกประมาณ 4-5 ป จึงจะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ประกอบกับวิถีชีวิตภูมิสังคมแตกต่างกันมาก ซึ่ง

                  อาจไม่เหมาะสมในการปลูกทดแทนทุเรียนในพื นที่ไม่เหมาะสม
                                          (3.1.2) ปาล์มน้ ามัน พื นที่การเพาะปลูกยางพาราสามารถ
                  เปลี่ยนไปปลูกปาล์มน ้ามันทดแทนได้ 235,719 ไร จากพื นที่ปลูกยางพารา รวม 628,952 ไร และเมื่อ
                  พิจารณาเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตสินคายางพารา พบวา การผลิตยางพารา

                  ในพื นที่ไม่เหมาะสมจะมีต้นทุนการผลิตเทากับ 8,682 บาทตอไร เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทน เทากับ
                  11,369 บาทตอไร ท้าใหเกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิ จากการผลิตเทากับ 2,687 บาทตอไร สวน
                  การปลูกปาล์มน ้ามันจะมีต้นทุนการผลิตเทากับ 7,312 บาทตอไร เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนเทากับ
                  20,639 บาทตอไร ท้าใหเกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิต เทากับ 12,327 บาทตอไร่

                                          (3.1.3) มังคุด พื นที่การเพาะปลูกยางพาราสามารถเปลี่ยนไป
                  ปลูกมังคุดทดแทนได้ 94,192 ไร จากพื นที่ปลูกยางพารารวม 628,954 ไรและเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ
                  ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตสินคายางพารา พบวา การผลิตยางพาราในพื นที่ไม่เหมาะสมจะ
                  มีต้นทุนการผลิตเทากับ 8,682 บาทตอไรเกษตรกรจะได้รับผลตอบแทน เทากับ 11,369 บาทตอไร
                  ท้าใหเกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเทากับ 2,287 บาทตอไร สวนการปลูกมังคุดจะมี
                  ต้นทุนการผลิตเทากับ 9,946 บาทตอไร เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนเทากับ 22,847 บาทตอไร ท้าให
                  เกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเทากับ 12,901 บาทตอไร

                              1.2)  ปาล์มน้ ามัน

                                  (1)   สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                             จังหวัดพังงามีพื นที่ปลูกปาล์มน ้ามัน 177,504 ไร่ ปีเพาะปลูก 2561
                  ในช่วง 5 ปี (ปี 25557 – 2561) เนื อที่ให้ผล และผลผลิต มีแนวโน้มเพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 10.18 และ
                  9.19 ต่อปี ตามล้าดับ เนื่องจากการเพิ่มขึ นประกอบการสภาพอากาศเอื ออ้านวยต่อการติดดอกออกผล
                  เพิ่มขึ น แต่ผลผลิตต่อไร่ มีแนวโน้มลดลงเฉลี่ยร้อยละ 1.09 ต่อปี โดยแหล่งที่มีพื นที่ปลูกปาล์มน ้ามันมาก
                  ที่สุดคือ อ้าเภอทับปุด รองลงมา คือ อ้าเภอท้ายเหมือง อ้าเภอคุระบุรี และอ้าเภอกะปง ตารางที่ 2-9
                  และรูปที่ 2-8
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44