Page 42 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 42

2-28








                           ทะลายปาล์มสดจาก    ลานเทในจังหวัด 91 ลานเท   โรงสกัดนอกจังหวัด   กระบี่ 60 %
                            เกษตรกร 0.6 ลต.    (0.54-0.52=0.02 ลต.)   0.52 ลต.(67%)
                                                                                      สุราษฎร์ธานี 40%


                                                       น ้ามันปาล์มดิบ (CPO)
                                                       โรงสกัดในจังหวัด 0.26 ลต. (33%)
                          ลานเทนอกจังหวัด 0.18 ลต.     2 โรงงาน (Cap 0.51 ลต./ป)
                                                       UtiliZation 50.98 %
                           (ระนอง65% ชุมพร35%)



                                        คลังรับฝาก
                          12 คลัง (Cap 731,450 ตัน)   Trader                               ส่งออก
                             - สุราษฎร์ธานี 1 คลัง 204,492 ตัน
                             - ชุมพร 1 คลัง 143,717 ตัน
                             - กระบี่ 1 คลัง ปริมาณ – ตัน              โรงกลั่นปาล์มน ้ามัน 14 โรง            โรงงานไบโอดีเซล (บี100
                             - เพชรบุรี 1 คลัง ปริมาณ - ตัน                 (Cap 7,640 ตันตอวัน)        12 โรง (Cap 6.176 ล้านลิตร/วัน)
                             - สมุทรสาคร 1 คลัง 89,831 ตัน
                             - ชลบุรี 1 คลัง 21,250 ตัน        - กระบี่ 1 โรง (Cap 300 ตันต่อวัน)          - สุราษฎร์ธานี 1 โรง
                                                                                    - ชุมพร 1 โรง
                             - ระยอง 1 คลัง 27,304 ตัน        - ชุมพร 2 โรง (Cap 1,100 ตันต่อวัน)          - ระยอง 2 โรง
                             - ฉะเชิงเทรา 1 คลัง 16,110 ตัน        - เพชรบุรี 1 โรง (Cap 500 ตันต่อวัน)          - อยุธยา 2โรง
                                                         - สมุทรปราการ 4 โรง(Cap 1,700 ตันต่อวัน)
                                                         - สมุทรสาคร 3 โรง (Cap 2,400 ตันต่อวัน)          - นครราชสีมา 1 โรง
                                                         - ปทุมธานี 1 โรง (Cap 800 ตันต่อวัน)          - กรุงเทพฯ 1 โรง
                                                         - สระแก้ว 1 โรง (Cap 150 ตันต่อวัน)          - ปราจีนบุรี 1 โรง
                                                                                    - ปทุมธานี 1 โรง
                                                                                    - สมุทรสาคร 1 โรง



                  รูปที่ 2-9  วิถีการตลาดปาล์มน้ ามันจังหวัดพังงา 2560
                  ที่มา:  ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)

                                  (2)   การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือก
                                      ต้นทุนและผลตอบแทนการปาล์มน ้ามัน ปี 2559 ของจังหวัดพังงา

                  ในพื นที่เหมาะสมส้าหรับการปลูก (S1, S2) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนรวม 7,312 บาทต่อไร่ ประกอบด้วย
                  ต้นทุนผันแปร 6,051 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,261 บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 3,969 กิโลกรัม
                  ต่อไร่ ราคาที่จ้าหน่ายได้เฉลี่ย 5.50 บาทต่อกิโลกรัม มีผลตอบแทนไร่ละ 20,639 บาท และมี
                  ผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 13,327 บาท

                                      ในพื นที่ไม่เหมาะสมส้าหรับการปลูก (S3, N) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุน
                  การผลิตรวม 6,475 บาทต่อไร่ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปร 5,158 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,318
                  บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,949 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ้าหน่ายได้เฉลี่ย 5.50 บาทต่อกิโลกรัม

                  มีผลตอบแทนไร่ละ 15,337 บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 8,861 บาท
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47