Page 43 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 43

2-29





                                      เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั งหมด (BCR) พบว่า ในพื นที่

                  เหมาะสมมาก (S1, S2) และพื นที่ไม่เหมาะสม (S3, N) เท่ากับ 2.82 และ 2.37 ตามล้าดับ มีค่ามากกว่า
                  1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน ตารางที่ 2-10

                  ตารางที่ 2-10  ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ ามัน ป 2559 จังหวัดพังงา แยกตามความเหมาะสมของพื้นที่

                                                                                           หน่วย : บาท/ไร่
                                               พื้นที่เหมาะสม (S1, S2)         พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3, N)
                          รายการ          ต้นทุนผัน                        ต้นทุนผัน
                                            แปร     ต้นทุนคงที่   รวม        แปร     ต้นทุนคงที่   รวม

                   1. ต้นทุนรวมต่อไร่      6,051    1,261        7,312        5,158    1,318       6,475
                   2. ผลผลิตต่อไร่ (กก.)                         3,969                             2,949
                   3. ราคาขาย (บาท/กก.)                            5.50                             5.50
                   4. ผลตอบแทนต่อไร่                            20,639                            15,337
                   5. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่                       13,327                             8,861
                   6. อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั งหมด (BCR)        2.82                             2.37

                  ที่มา:  ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)
                                      จากรูปที่ 2-10 ป 2560 จังหวัดพังงามีผลปาลมออกสู่ตลาด 635,250
                  ตัน โดยผลผลิตออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนสิงหาคม ถึงธันวาคม และให้ผลผลิตสูงสุดในเดือนตุลาคม
                  (64,795 ตัน) และออกสู่ตลาดน้อยที่สุดในเดือนมกราคม (42,689 ตัน) จากนั นผลผลิตเพิ่มขึ นเรื่อยๆ

                  จนถึงเดือนมิถุนายน นอกจากนั นยังมีผลปาล์มส่วนหนึ่งไหลเข้ามาจากจังหวัดอื่นอีกประมาณ 147,227
                  ตันต่อปี โดยส่วนใหญ่จะไหลเข้ามามากในช่วงเดือนกรกฎาคมประมาณ 41,175 ตัน และจะมีผลปาล์ม
                  บางส่วนประมาณ 517,135 ตัน ที่ลานเทในจังหวัดขนส่งไปขายนอกเขตจังหวัดอื่น ป 2560 โรงงานสกัด
                  น ้ามันปาล์มในจังหวัดพังงาสามารถรับซื อผลปาล์มได้ทั งหมด 265,342 ตันต่อปี หรือเฉลี่ยอยู่ระหว่าง                          ส่งออกนอกจังหวัด
                  เดือนละ 0.02 – 0.04 ล้านตัน

                                      เมื่อพิจารณาถึงความต้องการใช้ผลปาล์มน ้ามันตามก้าลังการผลิตของ                                              0 ตัน
                  โรงงานสกัดน ้ามันปาล์มในจังหวัดพังงา พบว่า มีโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มทั งหมด 4 โรงงาน ก้าลังการ
                  ผลิตรวม 0.80 ล้านตันต่อปี แต่ปัจจุบันมีโรงงานสกัดน ้ามันปาลม ที่ยังคงด้าเนินการ จ้านวน 2 โรงงาน
                  สามารถรองรับผลผลิตได้ 0.37 ล้านตันต่อปี จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในปี 2560
                  ผลปาล์มที่อยู่ในจังหวัดพังงาจะน้อยกว่าความต้องการใช้ผลปาล์มตามก้าลังการผลิตของโรงงาน

                  ประมาณ 0.15 ล้านตัน หรือเฉลี่ยอยู่ระหว่างเดือนละ 0.01-0.02 ล้านตัน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48