Page 277 - rambutan
P. 277

ผ-5





                  6.   การปฏิบัติบ ารุงรักษา


                      เงาะเมื่อปลูกในระยะแรกๆ ควรมีการรดน ้าเมื่อฝนไม่ตกและบังร่มให้หลังจากปลูกใหม่ๆ และ
                  ตลอดฤดูแล้งแรกหลังจากวันปลูกจะต้องคอยระวังรักษามิให้หญ้าชอนขึ้นมาได้ และเมื่อเงาะมีอายุ

                  ครบ 1 ปี ก็เริ่มใส่ปุ๋ ยให้ได้ เริ่มจากต้นเงาะขนาดเล็ก โดยใส่ปุ๋ ยให้จ านวนน้อย ๆ ก่อน ปุ๋ ยที่ใช้จะเป็น

                  ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยเคมีต่าง ๆ ซึ่งมีสัดส่วนอย่างสมบูรณ์ เมื่อต้นเงาะอายุครบ 1 ปี ส าหรับปุ๋ ยเคมี
                  ควรจะใส่ต้นละ 50 กรัม และควรใส่ให้ปีละ 2 ครั่ง เมื่ออายุของต้นเงาะมีอายุมากขึ้น ขนาดของต้น

                  เงาะก็โตขึ้นตามล าดับ จ านวนปุ๋ ยเคมี ก็จะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยถืออัตรา 2 3 4 และ 5 กิโลกรัม

                  ติดกันต่อปี เมื่อต้นเงาะอายุได้ 2 3 4 และ 5 ปีตามล าดับ เมื่อเมื่อต้นโตและให้ผลเต็มที่แล้ว อาจต้อง
                  เพิ่มปุ๋ ยให้ต้นละต่อหนึ่งปี 5-10 กิโลกรัม โดยแบ่งใส่ 2-3 ครั้งต่อปี


                  7. โรคแมลงและการจัดการ

                    7.1 การก าจัดโรคแมลง

                    ตามปกติต้นเงาะไม่ค่อยมีแมลงและโรคต่าง ๆ มารบกวน เหมือนกับผลไม้อื่น ๆ นอกจากปีใดเกิด
                  ฝนฟ้าวิปริต เช่น ฝนแล้งจัด ฝนมากเกินไป มักจะเกิดโรคและแมลงต่าง ๆ เกิดขึ้น ส าหรับแมลงนั้นก็

                  มักมีแมลงกินดอกเงาะ หนอนไชต้น แมลงปีกแข็งกินใบในเวลากลางคืน ส าหรับโรคนั้นก็มีราขาวตามกิ่ง

                  และมีโรคขอบใบไหม้เกรียมในฤดูแล้ง

                    โรคและแมลงที่เกิดขึ้นนี้ หากปรากฏขึ้นก็ควรได้จัดการก าจัดทันที ไม่ควรปล่อยให้โรคและแมลง
                  ท าลายเสียจนเกิดความเสียหาย แล้วจึงหาทางก าจัดในภายหลัง รายละเอียดในการป้องกันควรปรึกษา

                  เกษตรอ าเภอหรือเกษตรจังหวัด

                    7.2 การก าจัดศัตรูพืช

                      โรคราแป้ง ช่วงติดดอกออกผล ในช่วงเช้าหรือเย็นให้ฉีดพ่นด้วยผงก ามะถัน หรือใช้สารเคมี
                  ชนิดอื่น เช่น เบนโนมิล ไดโนแคป พาราโซฟอส เป็นต้น หรือเก็บผลเงาะที่แห้งด าบนต้น รวมทั้งกิ่งที่

                  แห้งร่วงหล่นน ามาเผาท าลายเพื่อเป็นการป้องกันได้อีกทางหนึ่ง

                      โรคจุดสนิม ให้ฉีดพ่นด้วยคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ คูปราวิท หรือซีแนบ หรืออาจต้องตัดเผา
                  ท าลายแล้วทาบริเวณรอยแผลด้วยสารเคมีดังกล่าวในกรณีที่เป็นโรคที่กิ่งแบบรุนแรง

                      โรคราสีชมพู ให้ฉีดพ่นด้วย คอปเปอร์ออกซีคลอไรท์ หรือแคปแทน และควรตัดเผาท าลายเสีย

                  ในส่วนของกิ่งที่เป็นโรครุนแรง

                    โรคราด า ในขณะที่เงาะก าลังผลิใบและช่อดอก ควรฉีดพ่นด้วย ไดเมทโธเอท หรือ คาร์บาริล เพื่อ
                  ป้องกันแมลงและก าจัดเชื้อราควบคู่กันไปด้วย
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282