Page 74 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 74

2-56






                               (10) กลุมชุดดินที่ 34D/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่

                  เปนลูกคลื่นลอนชัน และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                               (11) กลุมชุดดินที่ 34E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (12) กลุมชุดดินที่ 34E/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่

                  เปนเนินเขา และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                               -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทรายและดินมี
                  ความอุดมสมบูรณต่ำ ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลายของหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 39
                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ

                  หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อ
                  หยาบที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกที่มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวนหยาบ พบกลุม
                  ชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 39 39gm 39B 39B/43B 39Bgm 39C

                  39C/50C 39C/RC 39D 39D/RC 39E และ 39E/RC โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                (2) กลุมชุดดินที่ 39gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 พบบริเวณสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร

                                (3) กลุมชุดดินที่ 39B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (4) กลุมชุดดินที่ 39B/43B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 39 และกลุมชุดดินที่ 43
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (5) กลุมชุดดินที่ 39Bgm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กนอย มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                                (6) กลุมชุดดินที่ 39C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (7) กลุมชุดดินที่ 39C/50C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 39 และกลุมชุดดินที่ 50

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (8) กลุมชุดดินที่ 39C/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาด และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                                (9) กลุมชุดดินที่ 39D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (10) กลุมชุดดินที่ 39D/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปน

                  ลูกคลื่นลอนชัน และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                               (11) กลุมชุดดินที่ 39E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (12) กลุมชุดดินที่ 39E/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 39 มีสภาพพื้นที่เปน

                  เนินเขา และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                               -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินคอนขางเปนทรายมีความอุดม

                  สมบูรณต่ำและมีปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดินโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79