Page 71 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 71

2-53





                          กลุมชุดดินที่ 60

                          กลุมดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้ำ บริเวณพื้นที่เนินตะกอนซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่ดอน
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิด
                  จากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกันดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เปนดินลึกเนื้อดิน

                  เปนพวกดินรวน บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทรายหรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอน
                  ตางยุคของดินอันเปนผลมาจากการเกิดน้ำทวมใหญในอดีต พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่
                  ไดแก กลุมชุดดินที่ 60 60B 60C 60D และ 60D/61D โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 60 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                               (2) กลุมชุดดินที่ 60B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 60 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (3) กลุมชุดดินที่ 60C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 60 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (4) กลุมชุดดินที่ 60D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 60 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (5) กลุมชุดดินที่ 60D/61D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 60 และกลุมชุดดินที่ 61

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                            - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ำ
                  ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง งายตอการถูกชะลางพังทลาย และสูญเสียหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 61
                          กลุมดินนี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ซึ่งเกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตนกำเนิด

                  ชนิดตางๆ แลวถูกพัดพามาทับทมบริเวณที่ลาดเชิงเขา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน
                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึงปานกลาง มีลักษณะและสมบัติตางๆ เชน เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน
                  ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอน ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุตนกำเนิดดิน
                  ในบริเวณนั้นๆ สวนใหญมักมีเศษหิน กอนหินและหินพื้นโผลกระจัดกระจายทั่วไป พบกลุมชุดดินยอย

                  ประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 61 61B 61C และ 61D โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 61 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                                (2) กลุมชุดดินที่ 61B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 61 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (3) กลุมชุดดินที่ 61C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 61 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                                (4) กลุมชุดดินที่ 61D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 61 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                                  -  เนื่องจากหนวยแผนที่นี้ประกอบดวยดินบริเวณเชิงเขาที่มีดินหลายอยางเกิดปะปน

                  กันดังนั้นในแผนที่ดินระดับจังหวัดจึงเรียกดินเหลานี้วา ดินที่ลาดเชิงเขา

                        3)  กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินชื้น เขตดินชื้น หมายถึง เขตที่มีฝนตกชุกและกระจาย

                  สม่ำเสมอเกือบทั้งป โดยทั่วไปมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยมากกวา 1,500 มิลลิเมตรตอป พบกลุมชุดดิน
                  ดังกลาวในภาคใต และพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก ประกอบดวย กลุมชุดดินที่ 26  27  32  34

                  39  42  43  45  50  51 และ 53








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76