Page 72 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 72

2-54






                          กลุมชุดดินที่ 26

                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก วัตถุตนกำเนิดดินเกิดการ
                  สลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อละเอียด
                  ที่มาจากหินตนกำเนิดชนิดตางๆ ทั้งหินอัคนี หินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว
                  พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 26 26gm 26B 26Bgm 26B/32B
                  26B/53B 26C 26C/45C 26C/53C 26D 26D/45D 26D/53D 26E 26E/45E และ 26E/53E
                  โดยมีรายละเอียดดังนี้

                            (1) กลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                            (2) กลุมชุดดินที่ 26gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 พบบริเวณสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                                (3) กลุมชุดดินที่ 26B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                            (4) กลุมชุดดินที่ 26Bgm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                               (5) กลุมชุดดินที่ 26B/32B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 32
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                               (6) กลุมชุดดินที่ 26B/53B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 53
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                            (7) กลุมชุดดินที่ 26C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (8) กลุมชุดดินที่ 26C/45C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 45

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (9) กลุมชุดดินที่ 26C/53C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 53
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                            (10) กลุมชุดดินที่ 26D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                               (11) กลุมชุดดินที่ 26D/45D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 45
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (12) กลุมชุดดินที่ 26D/53D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 53

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                            (13) กลุมชุดดินที่ 26E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 26 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (14) กลุมชุดดินที่ 26E/45E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 45
                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (15) กลุมชุดดินที่ 26E/53E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 26 และกลุมชุดดินที่ 53

                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                               -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก บางบริเวณอาจพบดินมีความอุดม
                  สมบูรณต่ำ ในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันและเนื้อดินบนมีทรายปนจะมีอัตราเสี่ยงตอการชะลาง
                  พังทลายของดินสูง หากมีการจัดการดินไมเหมาะสม





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77