Page 77 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 77

2-59





                          กลุมชุดดินที่ 50
                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู

                  กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจาก
                  พวกหินตะกอนหรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ำดี เนื้อดินที่ความลึก

                  ในชวง 50เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย ในระดับความลึก
                  ประมาณ 50-100เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรังปริมาณมาก พบกลุมชุดดินยอย
                  ประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 50 50gm 50B 50B/51B 50C 50C/51C 50D
                  50D/51D 50E และ 50E/51E โดยมีรายละเอียดดังนี้

                            (1) กลุมชุดดินที่ 50 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                (2) กลุมชุดดินที่ 50gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 50 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                                (3) กลุมชุดดินที่ 50B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 50 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                              (4) กลุมชุดดินที่ 50B/51B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 50 และกลุมชุดดินที่ 51

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                            (5) กลุมชุดดินที่ 50C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 50 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                              (6) กลุมชุดดินที่ 50C/51C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 50 และกลุมชุดดินที่ 51
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                            (7) กลุมชุดดินที่ 50D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 50 พบบริเวณสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                              (8) กลุมชุดดินที่ 50D/51D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 50 และกลุมชุดดินที่ 51

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                                (9) กลุมชุดดินที่ 50E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 50 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                              (10) กลุมชุดดินที่ 50E/51E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 50 และกลุมชุดดินที่ 51
                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                               -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ำ เนื้อดิน
                  คอนขางเปนทราย ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเรื่องการชะลางพังทลายของหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 51

                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพัง
                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อคอนขาง
                  หยาบหรือคอนขางละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอนที่เปนเนินเขาหรือ
                  บริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนดินตื้นหรือตื้นมาก มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินรวนปนเศษหิน ซึ่งเศษ

                  หินสวนใหญเปนพวกหินทราย ควอรตไซตหรือหินดินดาน และพบชั้นหินพื้นที่ความลึก 50 เซนติเมตร
                  พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 51 51B 51B/53B 51C 51C/53C
                  51D 51D/53D 51D/RC 51E และ 51E/RC โดยมีรายละเอียดดังนี้






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82