Page 78 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 78

2-60






                            (1) กลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                                (2) กลุมชุดดินที่ 51B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                              (3) กลุมชุดดินที่ 51B/53B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 51 และกลุมชุดดินที่
                  53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                                (4) กลุมชุดดินที่ 51C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                              (5) กลุมชุดดินที่ 51C/53C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 51 และกลุมชุดดินที่
                  53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                                (6) กลุมชุดดินที่ 51D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                              (7) กลุมชุดดินที่ 51D/53D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 51 และกลุมชุดดินที่
                  53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                                (8) กลุมชุดดินที่ 51D/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่
                  เปนลูกคลื่นลอนชัน และเปนที่ดินหินพื้นโผล

                                (9) กลุมชุดดินที่ 51E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                                (10) กลุมชุดดินที่ 51E/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 51 มีสภาพพื้นที่
                  เปนเนินเขา และเปนที่ดินหินพื้นโผล

                                 -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อ
                  ดินเปนปริมาณมาก และมีชั้นหินพื้นอยูตื้นดินมีความอุดมสมบูรณต่ำ ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะ

                  เกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                          กลุมชุดดินที่ 53
                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพัง
                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียด

                  ที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบถึงเนินเขาเปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ำดี เนื้อดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว
                  ทับอยูบนดินเหนียวสวนดินลางในระดับความลึกระหวาง 50-100 เซนติเมตร เปนดินเหนียวปนลูกรัง
                  หรือดินปนเศษหินผุ พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 53 53B 53C
                  53D และ 53E โดยมีรายละเอียดดังนี้

                            (1) กลุมชุดดินที่ 53 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                (2) กลุมชุดดินที่ 53B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (3) กลุมชุดดินที่ 53C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                                (4) กลุมชุดดินที่ 53D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 53 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                                (5) กลุมชุดดินที่ 53E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 53 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินลึกปานกลางถึงชั้นกรวดลูกรัง
                  เศษหินหรือชั้นหินพื้นในชวงความลึก 50-100 เซนติเมตร ดินมีความอุดมสมบูรณต่ำ ในบริเวณพื้นที่ที่มี

                  ความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83