Page 73 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 73

2-55





                          กลุมชุดดินที่ 27

                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพังของหิน
                  ภูเขาไฟพวกหินบะซอลต มีพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน
                  เปนดินลึกมาก  มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวที่คอนขางรวนซุย พบกลุมชุดดินยอย

                  ประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 27 27B 27C และ 27D โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 27 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                               (1) กลุมชุดดินที่ 27B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 27 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (2) กลุมชุดดินที่ 27C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 27 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                               (3) กลุมชุดดินที่ 27D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 27 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                                 -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินมีความสามารถในการซาบซึมน้ำเร็ว
                  จึงมักจะขาดแคลนน้ำไดงาย ถาหากฝนทิ้งชวง

                          กลุมชุดดินที่ 34
                          เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ
                  หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ

                  ที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                  ถึงเนินเขา เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเปนพวกดินรวนละเอียดที่มีเนื้อดิน
                  บนเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวย
                  แผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 34 34gm 34B 34B/45B 34Bgm 34C 34C/39C 34C/RC 34D 34D/39D

                  34D/RC 34E และ34E/RC โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                (2) กลุมชุดดินที่ 34gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                               (3) กลุมชุดดินที่ 34B/45B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 และกลุมชุดดินที่ 45
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (4) กลุมชุดดินที่ 34Bgm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร

                                (5) กลุมชุดดินที่ 34C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (6) กลุมชุดดินที่ 34C/39C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 และกลุมชุดดินที่ 39
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                               (7) กลุมชุดดินที่ 34C/RC เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่
                  เปนลูกคลื่นลอนลาด และเปนที่ดินหินพื้นโผล
                               (8) กลุมชุดดินที่ 34D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 34 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (9) กลุมชุดดินที่ 34D/39D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 34 และกลุมชุดดินที่ 39

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78