Page 33 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 33

2-15





                          กลุ่มชุดดินที่ 20

                           กลุ่มชุดดินนี้ มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึก เกิดจากตะกอนล าน้ า หรือจากการ
                  สลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือจากการสลายตัวแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ ที่มีชั้นหินเกลือ
                  รองรับอยู่ หรืออาจได้รับอิทธิพลจากการแพร่กระจายหินเกลือทางผิวดิน มีน้ าแช่ขังในฤดูฝน น้ าแช่ขัง

                  30-100 เซนติเมตร นาน 3-4 เดือน สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว
                  ดินมีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ดินกลุ่มนี้ฤดูแล้งจะมีคราบเกลือเกิดขึ้น
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ เป็นดินเค็ม ซึ่งจะมีปริมาณธาตุโซเดียมสูงจนเป็นพิษ
                  ต่อพืช เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย และมีโครงสร้างของดินไม่ดี ค่อนข้างแน่นทึบ
                          กลุ่มชุดดินที่ 21

                          กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินเหนียวปนทราย ดินลึก เกิดจากพวกตะกอน
                  ล าน้ า พบบริเวณที่ราบตะกอนน้ า ที่เป็นส่วนต่ าของสันดินริมน้ า มีน้ าแช่ขังในฤดูฝน น้ าลึก 30-50 เซนติเมตร
                  นาน 2-3 เดือน สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการระบายน้ า

                  ค่อนข้างเลว ดินมีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง มีค่าความ
                  เป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ดินค่อนข้างเป็นทราย เสี่ยงต่อการขาดน้ า
                  บางพื้นที่อาจได้รับอันตรายจากน้ าไหลบ่าท่วมขัง การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง

                          กลุ่มชุดดินที่ 22
                          กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินทรายปนดินร่วน ดินลึก เกิดจากพวก
                  ตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ มีน้ าแช่ขังใน
                  ฤดูฝนสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมี

                  ความสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกร ได้แก่ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มี
                  ความสามารถในการอุ้มน้ าต่ า มักพบปัญหาการขาดแคลนน้ าในฤดูเพาะปลูก
                          กลุ่มชุดดินที่ 23

                           กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นเนื้อหยาบ ดินลึก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนเนื้อหยาบ
                  พบในบริเวณที่ลุ่มระหว่างสันหาด หรือเนินทรายชายฝั่งทะเล มีน้ าแช่ขังในฤดูฝน น้ าแช่ขังลึก 30-50 เซนติเมตร
                  นาน 4 - 5 เดือน สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมีความ

                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า เนื้อดินเป็นพวกดินทราย สีดินเป็นสีเทาพบจุดประสีน้ าตาลหรือสีเหลือง
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื้อดินเป็นทรายจัด
                  มีความสามารถในการอุ้มน้ าต่ าและมีน้ าท่วมขังนานในรอบปี
                          กลุ่มชุดดินที่ 24
                           กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินทรายปนดินร่วน ดินลึก เกิดจากพวก

                  ตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ มีน้ าแช่ขังใน
                  ฤดูฝนสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมี
                  ความสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38