Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 36

2-18





                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ เสี่ยงต่อการขาดน้ า ในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน

                  บางพื้นที่อาจพบชั้นดานแข็งที่เกิดจากการเขตกรรม
                          กลุ่มชุดดินที่ 34
                           กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ปนทราย ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดิน

                  พวกตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่
                  ส่วนใหญ่มาจากหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดิน ในเขตฝนตกชุก เช่นภาคใต้ สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์
                  ตามธรรมชาติต่ า
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายและดินมีความ

                  อุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับชะล้างพังทลายของหน้าดิน
                          กลุ่มชุดดินที่ 35
                           กลุ่มชุดดินนี้มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวก

                  ตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่ส่วนใหญ่
                  มาจากหินตะกอน สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง
                  อาจพบลูกรังในช่วงความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย และดินมีความ

                  อุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับชะล้างพังทลายของหน้าดิน
                          กลุ่มชุดดินที่ 36
                           กลุ่มชุดดินนี้ ที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการสลายตัวผุพัง อยู่
                  กับที่หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือเกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวก

                  ตะกอนล าน้ า สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดชัน มีการระบายน้ า ดีปานกลาง
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การมีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ซึ่งท าให้ดินอุ้มน้ า
                  ได้น้อย พืชอาจขาดแคลนน้ าได้ในช่วงฝนทิ้งเป็นระยะเวลานานๆ ส าหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูง อาจ

                  มีปัญหาเรื่องการชะล้างพังทลายเกิดขึ้น
                          กลุ่มชุดดินที่ 37
                           กลุ่มชุดดินนี้ที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วน ดินลึก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า

                  หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบบริเวณที่ดิน สภาพ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดชัน มีการระบายน้ าดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์
                  ตามธรรมชาติต่ า
                        ปัญหาในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในช่วงฤดูฝนดินเปียกแฉะ
                  เกินไปส าหรับการปลูกพืชไร่บางชนิด และหน้าดินค่อนข้างเป็นทรายหนา

                          กลุ่มชุดดินที่ 38
                        กลุ่มชุดดินนี้ มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วน ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ า พบบน
                  สันดินริมน้ าหรือที่ราบตะกอนน้ าพา มีลักษณะการทับถมเป็นชั้นๆ ของตะกอนล าน้ าในแต่ละช่วงเวลา








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41