Page 53 - longan
P. 53

3-15




                  ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ า และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงสูง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อ

                  เกษตรกรรมได้เป็น 3 ประเภท คือ
                                  3.5.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 42 42B 43 43/23 43B
                  43C และ 43D

                                  3.5.2)   หน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทา (gm) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 43gm
                                  3.5.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 42I 42BI
                  43I 43I/23I และ 43BI
                              3.6)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินตื้นถึงลูกรัง เศษหินหรือก้อนหิน หรือถึงชั้นหินพื้น มีสภาพ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา เป็นดินตื้น ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วน

                  เหนียวปนกรวด ดินร่วน ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนปนทรายปนกรวด ดินร่วนปนทราย หรือดิน
                  ร่วนปนทรายปนกรวดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5–7.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดิน
                  เหนียวปนกรวดมาก ดินร่วนเหนียวปนกรวดมาก หรือดินร่วนปนทรายปนกรวดมาก พบก้อนกรวด หรือ

                  เศษหินปนลูกรัง หรือก้อนหิน ถึงชั้นลูกรังหรือชั้นหินพื้น มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-8.0 มีการ
                  ระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าถึงปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยน
                  ประจุบวกต่ าถึงค่อนข้างสูง และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงปานกลาง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อ
                  เกษตรกรรมได้เป็น 2 ประเภท คือ

                                  3.6.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 45 45B 45C 45D 45E
                  51 51B 51B/53B 51C 51C/50C 51C/53C 51D 51D/50D 51D/53D 51D/RC 51E 51E/RC
                                  3.6.2)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 45I 45BI
                  45CI 51BI 51BI/53BI 51CI 51CI/53CI

                              3.7)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินลึกปานกลางถึงเศษหิน ก้อนหินหรือชั้นหินพื้น หรือลูกรัง มี
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียว
                  ปนกรวด ดินร่วนปนทรายปนกรวด ดินร่วน ดินทรายปนร่วน ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนเหนียวปน
                  ทรายแป้ง ดินร่วนปนทรายแป้ง หรือดินร่วนปนทราย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5–7.0 ดินล่างมีเนื้อ

                  ดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินเหนียวปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปน
                  ทรายปนกรวด พบชั้นหินผุ หินพื้น เศษหินหรือลูกรัง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-8.0 มีการระบาย
                  น้ าดีถึงดีปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าถึงปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุ

                  บวกต่ าถึงสูง และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงสูง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 4
                  ประเภท คือ
                                  3.7.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 50 50B 50B/34B
                  51B/51B 50C 50C/34C 50C/51C 50D 51D/34D 51D/51D 51D/RC 51E 50E/51E 51E/RC 53
                  53B 53B/26B 53B/51B 53C 53C/26C 53C/51C 53D 53D/26D 53D/51D 53E 53E/26E และ

                  53E/51E
                                  3.7.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 50I 50BI
                  50BI/53BI 50CI 50CI/34Ci 50CI/51CI 50CI/53CI 53I 53BI 53CI และ 53CI/26CI







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58