Page 51 - longan
P. 51

3-13




                                  2.8.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 37I

                  37col,I  37fl,I  37I/ 44I  37fl,I/ 36I  37BI  37col,BI  37fl,BI  37BI/ 44BI  37fl,BI/ 35BI  55I  55BI
                  55BI/7hi,BI 55CI 56I 56BI 56BI/48BI 56CI 56CI/48CI 56CI/RC
                                  2.8.4)   หน่วยที่ดินที่มีคันนาในเขตชลประทาน (b,I) ประกอบด้วย หน่วย

                  ที่ดิน 55b,I 55b,BI 55BI/55b,BI 56b,I 56b,BI
                            3) หน่วยที่ดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้น
                              3.1)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินเหนียวลึกมาก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ
                  ถึงเนินเขา ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว ดินร่วน ดินทรายปนร่วน ดินร่วนเหนียวปน
                  ทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินร่วนปนทรายแป้ง หรือดินร่วนปนทราย มีค่าความเป็นกรดเป็น

                  ด่าง 5.0-7.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินเหนียวปนทราย ดินเหนียวปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียว
                  ปนทรายแป้ง หรือดินเหนียวปนกรวดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-8.0 มีการระบายน้ าดีถึงดี
                  ปานกลาง หรือการระบายน้ าดีปานกลางถึงค่อนข้างเลวในหน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทา (gm) มีความอุดม

                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าถึงปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ าถึงสูง และความอิ่มตัวด้วย
                  ด่างต่ าถึงปานกลาง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 4 ประเภท คือ
                                  3.1.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 26 26B 26C 26D 26E
                  27 27B 27C 27D และ 27E

                                  3.1.2)   หน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทา (gm) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 26gm
                  และ 26gm,B
                                  3.1.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 26I 26BI
                  26CI 27BI และ 27CI

                                  3.1.4)   หน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทาในเขตชลประทาน (gm,I) ประกอบด้วย
                  หน่วยที่ดิน 26gm,I และ 26gm,BI
                              3.2)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินร่วนริมแม่น้ า มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ
                  ถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เป็นดินลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วน ดินทรายปนร่วน

                  ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินร่วนปนทรายแป้ง หรือดินร่วนปนทราย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5–6.5
                  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินร่วนปน
                  ทราย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5–6.0 มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง หรือการระบายน้ าดีปาน

                  กลางถึงค่อนข้างเลวในหน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทา (gm) มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าถึงปาน
                  กลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ าถึงค่อนข้างสูง และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงปานกลาง ซึ่ง
                  แบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 3 ประเภท คือ
                                  3.2.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 32 32s 32/17 23B และ
                  32B/34B

                                  3.2.2)   หน่วยที่ดินที่มีจุดประสีเทา (gm) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 32gm
                  และ 32gm,B
                                  3.2.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 32I

                  32I/17I  และ 32BI




                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56