Page 56 - longan
P. 56

3-18




                              คุณลักษณะที่ดิน พบว่า มีสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ชันปานกลาง (ความลาดชันร้อยละ

                  12-20) เป็นดินลึก (100-150 เซนติเมตร) มีปริมาณเกลือในดินเค็มเล็กน้อย (ค่าการน าไฟฟ้าของดิน
                  2-4 เดซิซีเมนต่อเมตร) การระบายน้ าของดินค่อนข้างเลว ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ าปานกลาง
                  ถึงปานกลาง (5-15 เซนติโมลต่อกิโลกรัม) และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต่ า (น้อยกว่า ร้อยละ 35)

                              ตัวอย่างชุดดิน ได้แก่ ชุดดินภูพาน (Pu) ชุดดินปักธงชัย (Ptc) ชุดดินโนนแดง (Ndg)
                  ชุดดินพระทองค า (Ptk) ชุดดินท่าแซะ (Te) ชุดดินห้วยแถลง (Ht) ชุดดินพล (Pho) ชุดดินหนองบุญนาก
                  (Nbn) ชุดดินเขมราฐ (Kmr) และชุดดินมหาสารคาม (Msk) เป็นต้น
                               มีข้อจ ากัดด้านความลาดชันและปริมาณดินที่ถูกกัดกร่อน (e) ศักยภาพการใช้
                  เครื่องจักร (w) เป็นดินตื้น (r) มีเกลือมากเกินไป (x) สภาพการระบายน้ าเลว (o) และความจุในการดูดยึดธาตุ

                  อาหารต่ า (n)
                             -  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ทั้งประเทศ มีเนื้อที่ประมาณ 46,620,252 ไร่
                  หรือร้อยละ 32.79 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่

                  22,845,991 ไร่ หรือร้อยละ 49.00 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั้งประเทศ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัด
                  นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ตามล าดับ ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 11,476,920 ไร่ หรือร้อยละ 24.62 ส่วนใหญ่
                  อยู่ในจังหวัดนครสวรรค์ ก าแพงเพชร เพชรบูรณ์ ตามล าดับ ภาคใต้ มีเนื้อที่ 4,904,696 ไร่ หรือร้อยละ
                  10.52 ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช ตามล าดับ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่

                  4,353,842 ไร่ หรือร้อยละ 9.34 ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดสระแก้ว ปราจีนบุรีจันทบุรี ตามล าดับ และภาคกลาง
                  มีเนื้อที่ 3,038,803 ไร่ หรือร้อยละ 6.52 ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดลพบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
                  ตามล าดับ
                              คุณลักษณะที่ดิน พบว่า มีสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ชัน (ความลาดชันร้อยละ 20-35)

                  เป็นดินลึกปานกลาง (50-100 เซนติเมตร) มีปริมาณเกลือในดินเค็มปานกลาง (ค่าการน าไฟฟ้าของดิน
                  4-8 เดซิซีเมนต่อเมตร) และความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ ามากถึงต่ า (น้อยกว่า 5 เซนติโมลต่อกิโลกรัม)
                              ตัวอย่างชุดดิน ได้แก่ ชุดดินช านิ (Cni) ชุดดินร้อยเอ็ด (Re) ชุดดินพะโต๊ะ (Pto) ชุดดิน
                  สุโขทัย (Skt) ชุดดินละหานทราย (Lah) ชุดดินนาดูน (Nad) ชุดดินกุลาร้องไห้ (Ki) ชุดดินลาดหญ้า (Ly)

                  ชุดดินก าแพงเพชร (Kp) และชุดดินชัยบาดาล (Cd) เป็นต้น
                               มีข้อจ ากัดด้านความลาดชันและปริมาณดินที่ถูกกัดกร่อน (e) ศักยภาพการใช้
                  เครื่องจักร (w) เป็นดินตื้น (r) มีเกลือมากเกินไป (x) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหารต่ า (n)





















                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61